Page 17 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            8






                           จากแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน และข้อมูลจากส านักงานเกษตรอ าเภอในพื้นที่ศึกษา จะท าให้

                  ทราบว่ามีพืชอะไรบ้าง  ปลูกอยู่บริเวณใด โดยเข้าไปในพื้นที่ลุ่มน้ า เพื่อประสานกับเกษตรต าบล

                  ก านัน หรือผู้ใหญ่บ้าน เพื่อหาข้อมูลว่าแต่ละกลุ่มดินมีพืชอะไรปลูกอยู่บ้าง รวมทั้งสัมภาษณ์เกษตรกร
                  บริเวณนั้นๆ เพื่อสอบถามข้อมูลส าหรับใช้ในการวิเคราะห์จัดท าประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนี้

                             1.1 ระบบการปลูกพืช ระยะเวลาปลูก และเก็บเกี่ยว

                             1.2 พันธุ์ที่ใช้ปลูก

                             1.3 การจัดการในการปลูกพืช
                             1.4 ใช้เทคโนโลยีมากน้อยแค่ไหน

                             1.5 การลงทุนเป็นอย่างไร

                             1.6 การเขตกรรมใช้แรงงานประเภทใด (แรงงานคน/สัตว์/เครื่องจักร)

                             1.7 ปริมาณผลผลิตที่ได้รับ
                             ข้อมูลเหล่านี้จะน าไปใช้ในการวิเคราะห์ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินว่ามีกี่ประเภท

                  และการคัดเลือกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินจะต้องแน่ใจว่าในแต่ละประเภทที่ปลูกบนดินกลุ่ม

                  นั้นๆ  มีรูปแบบที่สม่ าเสมอกัน  เพื่อให้มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด  เมื่อคัดเลือกประเภทการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินและทราบพื้นที่ปลูกแน่นอนแล้ว  จะน าข้อมูลเหล่านี้ส่งให้กระบวนการส ารวจภาวะ

                  เศรษฐกิจสังคมด าเนินการส ารวจข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจที่ดินเพื่อให้ทราบต้นทุนการผลิต  และ

                  ผลตอบแทนที่ ได้รับ ตลอดจนสภาพปัญหา ความต้องการให้รัฐช่วยเหลือและทัศนคติในการใช้ที่ดิน
                  ท าการเกษตร

                           2.  การตรวจสอบผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อหาเหตุและผล เป็นการส ารวจ

                  ภาคสนาม ดูสภาพจริงของพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมปัญหา ข้อเท็จจริงเพื่อน ามาวิเคราะห์
                             2.1  การตรวจสอบความเป็นไปได้ของการวิเคราะห์ความสมดุลของน้ า  เช่น  เพื่อ

                  วิเคราะห์ได้ว่ามีฝนทิ้งช่วงในช่วงฤดูปลูกหรือไม่ จ าเป็นต้องมาตรวจสอบในภาคสนามโดยสอบถาม

                  จากเกษตรกรว่าเกิดความแห้งแล้งจริงหรือไม่  เกิดบ่อยแค่ไหน ในรอบปี/หลายปี ช่วงฝนตกเพียงพอ

                  จริง หรือไม่
                             2.2  บริเวณที่มีน้ าใต้ดินในปริมาณมาก และอยู่ในระดับตื้น มีการพัฒนาน าขึ้นมาใช้

                  หรือไม่

                             2.3 ส ารวจพื้นที่ป่าที่โดนบุกรุก เพื่อหาสาเหตุของการบุกรุก พื้นที่ที่โดนบุกรุก ปัจจุบัน
                  มีการถือครองอย่างถาวรหรือไม่  หรือท าเป็นไร่เลื่อนลอย  เกษตรกรที่บุกรุกเป็นคนในท้องถิ่นหรือ

                  ภายนอก และพื้นที่นอกเขตป่าสงวนที่ก าหนดเป็นเขตป่ามีปัญหาด้านการถือครองที่ดินหรือไม่เป็นต้น

                             2.4  รวบรวมและตรวจสอบข้อมูลจากหน่วยงานในพื้นที่และเกษตรกรว่าประสิทธิภาพ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22