Page 14 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            5






                            2. ข้อมูลที่รวบรวมจากภายในกรมพัฒนาที่ดิน ประกอบด้วยข้อมูลทางด้านกายภาพ

                  สภาพแวดล้อม โดยมีรายละเอียดประเภทข้อมูลดังนี้

                              2.1 แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน (กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน, 2553 และ 2556)

                              2.2 ข้อมูลดินและแผนที่ดิน (ส านักส ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2555)

                              2.3 ข้อมูลอื่นๆ ตามความจ าเป็น


                  ขั้นตอนที่  3  การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อหา  แนวทางออกไปเก็บข้อมูล  ภาคสนามโดยมี
                  รายละเอียดต่อไปนี้

                            1. การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ

                              วิเคราะห์การกระจายของน้ าฝน จ านวนวันที่ฝนตกในแต่ละเดือน ปริมาณฝนที่ตก
                  ในแต่ละเดือน  วิเคราะห์อุณหภูมิ  ความชื้นสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร  เพื่อ

                  ศึกษาช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนพอเพียงต่อการเพาะปลูก และระยะเวลาที่ฝนทิ้งช่วง

                                   การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ  ท าให้สามารถประเมินได้ว่ามีพืชชนิดใดบ้างที่
                  เหมาะต่อ สภาพภูมิอากาศในแต่ละพื้นที่ ช่วงใดเสี่ยงต่อการปลูกพืช ท าให้สามารถใช้เป็นแนวทางใน

                  การ เสนอแนะระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมในพื้นที่ลุ่มน้ าได้

                                2. การวิเคราะห์ทรัพยากรน้ า
                                   วิเคราะห์แหล่งน้ าธรรมชาติทั้งน้ าผิวดินและน้ าใต้ดิน  และลักษณะของที่ดินเพื่อ

                  ศึกษา  ความเหมาะสมว่ามีที่ดินบริเวณใดบ้างที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาระบบชลประทานได้  (Irrigable

                  land) ส าหรับการวิเคราะห์พื้นที่รับน้ าชลประทานจ าเป็นต้องรอข้อมูลจากการส ารวจภาคสนาม

                                3. การวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
                                   ในเบื้องต้นวิเคราะห์สถานการณ์ป่าไม้ตามกฎหมายว่าในปัจจุบันมีเนื้อที่อยู่เท่าใด

                  มีการบุกรุกป่าหรือไม่ เป็นเนื้อที่เท่าใด  โดนบุกรุกอย่างถาวรหรือชั่วคราว พื้นที่ถูกบุกรุกเป็นพื้นที่ต้น

                  น้ าล าธารหรือเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมต่อการเกษตรหรือไม่ ส าหรับพื้นที่นอกเขตป่ามีบริเวณ
                  ใดบ้างที่สามารถจะก าหนดเพิ่มเป็นพื้นที่ป่าไม้ได้ โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตร โดยมี

                  ขั้นตอนการจัดท าดัง ภาพที่ 2
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19