Page 16 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            7






                           4. การวิเคราะห์ทรัพยากรดิน

                             วิเคราะห์สถานภาพทรัพยากรที่ดิน ปัญหาของทรัพยากรดินในการใช้ประโยชน์ โดยการ

                  วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับต่อจากนักส ารวจดินในการวิเคราะห์และจัดท าหน่วยที่ดิน (Land Unit: LU) ซึ่ง
                  จะท าการรวบรวมข้อมูลดินชุดต่างๆ (Soil series) หรือกลุ่มดินที่ มีลักษณะทางกายภาพและเคมีของ

                  ดินคล้ายคลึงกันแต่จะต้องมีความแตกต่างกันอย่างเด่นชัดในแง่ของคุณภาพดิน (Land Quality: LQ) ที่

                  จะมีผลต่อความต้องการของการใช้ที่ดิน  (Land use  requirements)  ให้เป็นหน่วยเดียวกัน  ส่วนการ

                  วิเคราะห์และจัดท าหน่วยที่ดิน จะน าไปพิจารณากับปัจจัยด้านอื่นๆ เช่น พื้นที่รับน้ าชลประทาน
                  (Irrigated  area) การพัฒนาที่ดิน เช่น การจัดรูปที่ดิน การจัดระบบอนุรักษ์ดินและ น้ า สภาพพื้นที่

                  (Landform) และอิทธิพลเฉพาะที่ (Site  effect)   เช่น ปัญหาดินเค็ม ดินเปรี้ยว น้ าท่วม พื้นที่ ความลึก

                  ของระดับการแช่ขังของน้ า ไม่มีการสร้างระบบป้องกันน้ าท่วม เป็นต้น ส าหรับแหล่งน้ าต้องไปศึกษา

                  ในภาคสนามแล้วน ากลับมาวิเคราะห์จัดท าเป็นหน่วยที่ดินต่อไป
                            5. การวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินเพื่อการผลิตทางการเกษตร

                             เป็นการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลการผลิตทางการเกษตรจากหน่วยงานในส่วนกลาง

                  อาทิ  กรม วิชาการเกษตร  กรมส่งเสริมการเกษตร  ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร  ทั้งจากการ
                  ประสานงานโดยตรง  และการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต  พร้อมน าข้อมูลและแผนที่จากกลุ่มวิเคราะห์

                  สภาพการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดินมาวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อก าหนดประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  ขั้นตอนที่  4  น าเข้าข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรด้านต่างๆ โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบ

                  สารสนเทศภูมิศาสตร์

                           เป็นการน าเข้าข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรด้านต่างๆ ที่รวบรวมได้ มาจัดท าแผนที่

                  ซ้อนทับของภูมิประเทศ การปกครอง เส้นทางคมนาคม หน่วยที่ดิน และสภาพการใช้ที่ดิน เพื่อ
                  น าไปใช้เป็นเครื่องมือในการออกภาคสนาม และน าเข้าพร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรด้านต่างๆ

                  โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เช่น ArcGIS  และโปรแกรมอื่นๆ เช่น

                  Cropwat 8.0, Ms-Excel,   Ms-Word และหนังสือคู่มือการประเมินคุณภาพที่ดิน ส าหรับพืชเศรษฐกิจ

                  ขั้นตอนที่ 5 การส ารวจและตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล ในภาคสนาม

                           เป็นการด าเนินการตรวจหน่วยที่ดิน ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ส ารวจสภาวะ เศรษฐกิจ

                  สังคม  รวมทั้งเป็นการรวบรวมข้อมูลเพิ่มจากหน่วยงานในพื้นที่เพื่อความเป็นปัจจุบันของข้อมูล  มี
                  รายละเอียดดังนี้

                           1.  การส ารวจเพื่อตรวจสอบและคัดเลือกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน  (Land  Utilization

                  Type: LUTs) โดยก าหนดให้คัดเลือกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2 หมู่บ้านต่อ 1หน่วยที่ดินต่อ 1 LUT
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21