Page 28 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       17







                       ชุดดินโชคชัย  และชุดดินสูงเนิน  ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่และไม้ผลต่างๆ  มีส่วนน้อยที่
                       ยังคงสภาพป่าธรรมชาติ
                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความพรุนสูง น้ าซึมผ่านชั้นดินได้ปานกลาง มีการ
                       อุ้มน้ าต ่า ถึงปานกลาง น ้าใต้ดินลึก พืชจะขาดน ้าเมื่อฝนทิ้งช่วงนาน ดินมีการพังทลายในบริเวณที่มี

                       ความลาดชันสูง  ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางเหมาะส าหรับ ปลูกพืชไร่หรือไม้ผลต่าง  ๆ
                       มากกว่าที่จะน ามาปลูกข้าวหรือท านา  เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน ยากใน
                       การที่จะเก็บกักน ้าไว้ปลูกข้าว
                              กลุ่มชุดดินที่ 33

                              เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทรายแป้ง ดินมีสีน ้าตาลหรือสีน ้าตาลปนแดงบางแห่ง ในดินล่าง
                       ลึก  ๆ  มีจุดประสีเทาและน ้าตาล  อาจมีแร่ไมก้าหรือก้อนปูนปะปน  เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวก
                       ตะกอนล าน ้า  พบบนสันดินริมน ้าเก่าและเนินตะกอนรูปพัด  มีพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่น
                       ลอนลาด มีความลาดชันประมาณ ร้อยละ 2-12 เป็นดินลึกมาก มีการระบายน ้าดีถึงดีปานกลางระดับ

                       น ้าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 1 เมตร ตลอดปีมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ดินชั้นบนมีความเป็น
                       กรดเป็นด่างประมาณ 6.5-7.5 ได้แก่ ชุดดินดงยางเอน ชุดดินธาตุพนม ชุดดินก าแพงแสน ชุดดิน
                       ก าแพงเพชร และชุดดินล าสนธิ

                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีความเสี่ยงต่อการขาดน้ าได้ในบางปี
                              ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชหลายชนิดทั้งพืชไร่
                       พืชผัก ไม้ผล และท านาข้าว
                              กลุ่มชุดดินที่ 38
                              เป็นหน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายละเอียด  มีลักษณะการทับถม

                       เป็นชั้น ๆ  ของตะกอนล าน้ าในแต่ละช่วงเวลา  สีดินเป็นพวกสีน้ าตาลอ่อน  อาจพบจุดประสีเทาและ
                       สีน้ าตาลในชั้นดินล่าง เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า พบบนสันดินริมน้ าเป็นแนวยาว
                       ขนานไปตามริมฝั่งน้ าที่มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ เป็นดินลึก มีการระบายน้ าดีถึงค่อนข้างดี ดินมี

                       ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                       ประมาณ 5.0-7.0
                              ความเหมาะสมของที่ดินส าหรับการปลูกพืช
                              จากข้อมูลทรัพยากรดิน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สามารถสรุปความเหมาะสมของที่ดิน

                       ส าหรับการปลูกพืช ชนิดต่างๆ ดังนี้
                              1. ดินที่มีศักยภาพเหมาะสมต่อการท านา มีเนื้อที่ประมาณ 1,395,479 ไร่
                              2. ดินมีศักยภาพเหมาะส าหรับผัก,พืชไร่และไม้ผล มีเนื้อที่ประมาณ 2,740 ไร่
                              3. ดินมีศักยภาพเหมาะส าหรับพืชผัก,ไม้ผลและข้าว มีเนื้อที่ประมาณ 68,932 ไร่

                              4. ดินมีศักยภาพเหมาะส าหรับพืชไร่และไม้ผล มีเนื้อที่ประมาณ 121,587 ไร่
                              5. ดินมีศักยภาพเหมาะส าหรับไม้ผลและข้าว มีเนื้อที่ประมาณ 42.22 ไร่
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33