Page 26 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       15







                              กลุ่มชุดดินที่  8
                              หน่วยแผนที่นี้เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว ดินบนมีลักษณะการทับถมเป็นชั้น ๆ
                       ของดินและอินทรียวัตถุที่ได้จากการขุดลอกร่องน้ า ดินล่างมีสีเทา บางแห่งมีเปลือกหอยปะปนอยู่ด้วย
                       พบบริเวณที่ราบลุ่ม ซึ่งปัจจุบันเกษตรกรได้ท าการชุดยกร่องเพื่อปลูกพืชผลต่างๆ ท าให้สภาพผิว

                       พื้นดินเดิมเปลี่ยนแปลงไป ตากปกติดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง มีค่าความเป็น
                       กรดเป็นด่างประมาณ 6.0-7.0
                              ดินในกลุ่มนี้ได้รับการปรับปรุงบ ารุงดินเป็นอย่างดี และได้ท ากันมานานแล้ว จึงถือว่าไม่มี
                       ปัญหาแต่ประการใดในเรื่องคุณภาพของดิน

                              กลุ่มชุดดินที่ 10
                              เนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวดินบนมีสีด าหรือสีเทาแก่  ดินล่างมีสีเทามีจุดประสีน้ าตาล
                        ปนเหลือง สีแดง และพบจุดประสีน้ าตาลปนเหลืองฟางข้าวของสารจาโรไซต์ ภายในระดับความลึก
                        100 เซนติเมตร จากผิวดินพบบริเวณที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเล น้ าแช่ขังลึก 100 เซนติเมตร นาน 6-7

                        เดือน เป็นดินลึกมีการระบายน้ าเลว  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เป็นกรดจัดมาก  ความเป็นกรด
                        เป็นด่าง 4.5 ได้แก่ ชุดดินองครักษ์ ชุดดินรังสิต ประเภทที่เป็นกรดจัดมากได้แก่ ชุดดินมูโน๊ะ และชุด
                        ดินเชียรใหญ่ ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ท านา บางแห่งมีการยกร่องปลูกพืชผัก ส้มเขียวหวาน และ

                        สนประดิพัทธ์ หากไม่มีการใช้ปูน เพื่อแก้ไขความเป็นกรดของดิน พืชที่ปลูกมักไม่ค่อยได้ผล
                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน  ได้แก่  ดินเป็นกรดจัดมาก  ฤดูฝนมีน้ าแช่ขังนาน  6-7 เดือน
                        ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า  มีศักยภาพเหมาะสมที่จะใช้ท านามากกว่าปลูกพืชอย่างอื่น เนื่องจาก
                        สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงราบลุ่ม  เนื้อดินเป็นดินเหนียวและดินมีการระบายน ้าเลวถึงเลวมาก  ซึ่งใน
                        สภาพปัจจุบันใช้ท านาอยู่แล้วเป็นส่วนใหญ่ แต่ให้ผลผลิตต ่าเพราะดินเปรี้ยวจัดหรือ ดินกรดก ามะถัน

                        การที่จะน ากลุ่มชุดดินนี้มาใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืชอย่างอื่น  เช่น  ไม้ผล  ไม้ยืนต้น  พืชไร่
                        และพืชผักต่างๆ จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงดิน หรือการพัฒนาที่ดิน เช่น การท าคันดินล้อมรอบพื้นที่
                        เพื่อป้องกันน ้าท่วม

                              กลุ่มชุดดินที่  11
                              เป็นหน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว ดินบนมีสีด าหรือสีเทาแก่ ดินล่างมีสีเทาและมี
                       จุดประพวกสีน้ าตาล สีเหลืองหรือสีแดงปะปนมากในช่วงดินล่างตอนบน และจะพบจุดประสีเหลือง
                       ฟางข้าว ของสารประกอบจาโรไซต์ในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดินพบบริเวณที่ราบ

                       ลุ่มตามชายฝั่งทะเลเป็นดินลึก มีการระบายน้ าเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างต่ า
                       เนื่องจากดินมีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.0-5.0
                              ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินในหน่วยแผนที่นี้  ได้แก่  ดินเป็นกรดจัด อาจขาดแร่ธาตุ
                       อาหารพืชพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส หรืออาจมีสารละลายพวกอะลูมินัมและเหล็กมากเกินไป

                       จนเป็นพิษต่อพืช จึงจัดเป็นดินเปรี้ยวจัด หรือดินกรดก ามะถันเช่นกัน ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ท านา
                       บางแห่งยกร่องปลูกพืชผัก ส้มเขียวหวานและสนประดิพัทธ์ ถ้าดินเหล่านี้ได้รับการปรับปรุงบ ารุงดิน
                       ใช้ปุ๋ยและปูนมาร์ลในอัตราที่เหมาะสม และมีการควบคุมน้ าหรือ จัดระบบชลประทานที่มี
                       ประสิทธิภาพ  พืชที่ปลูกจะให้ผลผลิตดีพอใช้  มีในเขตอ าเภอพระนครศรีอยุธยา อ าเภอเสนา อ าเภอ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31