Page 25 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                              กลุ่มชุดดินที่ 3
                              เป็นหน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว ดินบนมีสีด า ส่วนดินล่างมีสีเทาหรือสีน้ าตาล
                       อ่อน มีจุดประพวกสีเหลืองและสีน้ าตาลหรือสีแดง บางแห่งพบผลึกยิบซั่มและเปลือกหอยในดินชั้น
                       ล่าง พบดินบริเวณที่ราบลุ่มหรือที่ราบเรียบเป็นดินลึก มีการระบายน้ าเลวถึงค่อนข้างเลว ดินมี

                       ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นดินกรดปานกลางถึงเป็นด่างอ่อน มี
                       ความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-8.0
                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ใช้ท านา หรือยกร่องปลูกพืชผักและไม้ผล ซึ่งไม่ค่อยจะมี
                       ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน แต่ถ้าเป็นที่ลุ่มมากๆ จะมีปัญหาเรื่องน้ าท่วมในฤดูฝน ในเขตอ าเภอ

                       พระนครศรีอยุธยา อ าเภอผักไห่ อ าเภอบางบาล อ าเภอบางปะอิน อ าเภอบางซ้าย อ าเภอมหาราช
                       อ าเภอบ้านแพรก อ าเภอนครหลวง อ าเภอบางปะหัน
                              กลุ่มชุดดินที่  4
                              เป็นหน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว สีดินเป็นสีด าหรือสีเทาเข้ม มีจุดประสีน้ าตาล

                       ปนเหลือง มักพบผลึกยิบซั่มในชั้นดินล่าง ดินมีการระบายน้ าเลว พบบริเวณพื้นที่ราบเรียบหรือ
                       ที่ราบลุ่ม ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดอ่อนถึงเป็นด่าง
                       ปานกลาง  ค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 6.0-8.0

                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวถ้าไม่ใช้ท านาจะยกร่องเพื่อปลูกพืชผักหรือไม้ผล ซึ่งมักจะให้ผลผลิต
                       ค่อนข้างสูงมีในเขตอ าเภออุทัย อ าเภอผักไห่ อ าเภอบางปะอิน อ าเภอมหาราช อ าเภอนครหลวง
                       อ าเภอบางปะหัน และอ าเภอบางไทร
                              กลุ่มชุดดินที่  6
                              เนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีสีเทาแก่ ดินล่างมีสีน ้าตาลปนเทา หรือสีเทามีจุดประสีน ้าตาล

                       หรือสีแดงตลอดชั้นดิน บางแห่งมีศิลาแลงอ่อน  หรือก้อนสารเคมีพวกเหล็กและแมงกานีสปะปนอยู่
                       ด้วยกลุ่มดินนี้เกิดจากพวกตะกอนล าน ้า เป็นดินลึกมากมีการระบายน ้าเลวพบตามที่ราบตั้งแต่
                       ที่ราบน ้าท่วมถึงลานตะพัก ล าน ้าระดับต ่าน ้าแช่ขัง 30-50 เซนติเมตร นาน 3-5 เดือน ดินมีความอุดม

                       สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าหรือค่อนข้างต่ าความเป็นกรดเป็นด่าง  4.5-5.5  ได้แก่ ชุดดินบางนรา
                       ชุดดินมโนรมย์  ชุดดินเชียงราย  ชุดดินนครพนม  ชุดดินปากท่อและชุดดินแกลง  ชุดดินสุไหงโกลก
                       ชุดดินท่าศาลา ชุดดินคลองขุด ชุดดินสตูล ชุดดินวังตง ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ใช้ท านาหรือ
                       ปลูกพืชล้มลุกในช่วงฤดูแล้ง

                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปฏิกิริยาของดินเป็นกรดแก่
                       ฤดูฝน น้ าแช่ขังนาน 3-5 เดือน
                              กลุ่มชุดดินที่  7
                              เป็นหน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว มีสีดินเป็นสีเทาหรือสีน้ าตาลปนเทา มีจุดประสี

                       น้ าตาลหรือสีเหลืองปะปนตลอดชั้นดิน เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกดินตะกอนล าน้ ามีการระบายน้ า
                       ค่อนข้างเลว  พบบริเวณพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ
                       ปานกลาง  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-7.5
                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ใช้ท านา ถ้าหากมีการชลประทานดีและการจัดการดี

                       สามารถ ท านาได้  2 ครั้ง ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง ในเขตอ าเภออุทัย และอ าเภอนครหลวง
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30