Page 187 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 187

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        176


                                                          บทที่ 10

                                                     สรุปและข้อเสนอแนะ

                  สรุปผลการศึกษา

                         1. สภาพปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินต่อพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทย พบว่า

                             ลักษณะและสมบัติดินของแต่ละภาคมีความแตกต่างกัน  ซึ่งมีผลท่าให้ทรัพยากรดินมีความ
                  แตกต่างกันด้วย ดังนี้

                            1.1 ทรัพยากรดินของภาคเหนือ เป็นดินที่มีศักยภาพทางการเกษตรอยู่ในระดับปานกลางแต่มี
                  ข้อจ่ากัดของพื้นที่ของภาคที่เป็นเทือกเขาและมีความลาดชันสูงมากเป็นส่วนใหญ่ มีพื้นที่รวม 106.03 ล้านไร่

                  โดยมีพื้นที่เกษตรกรรม 41.57 ล้านไร่  เป็นพื้นที่การท่านา 17.17 ล้านไร่  พืชไร่ 13.33 ล้านไร่  ไม้ยืนต้น

                  2.99 ล้านไร่  ไม้ผล 3.50 ล้านไร่  และพืชไร่หมุนเวียน 4.04 ล้านไร่  มีดินที่เหมาะสมส่าหรับข้าวประมาณ
                  16.90 ล้านไร่ และมีความเหมาะสมส่าหรับพืชไร่ ไม้ผลไม้ยืนต้นทั่วไปประมาณ 18.87 ล้านไร่

                            โดยมีสภาพพื้นที่ท่าการเกษตร ดังนี้ สภาพพื้นที่ราบลุ่มมีพื้นที่ 16.95 ล้านไร่  ประกอบด้วยกลุ่ม

                  เนื้อดิน ดังนี้ กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1, 4, 5, 6 และ 7  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน
                  ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 15, 16, 17, 18, 21, 22 และ 59  และกลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 25

                  สภาพพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งมีพื้นที่ 30.82 ล้านไร่  ประกอบด้วยกลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว ได้แก่
                  กลุ่มชุดดินที่ 28, 29, 30, 31, 54 และ 55  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 33, 35, 36, 37,

                  38, 40, 56 และ 60  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 41 และ 44  และกลุ่มเนื้อดินที่เป็นดิน
                  ตื้น ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 46, 47, 48, 49, 52 และ61  สภาพพื้นที่ภูเขาสูงมีพื้นที่ 54.45 ล้านไร่ ได้แก่ กลุ่มชุด

                  ดินที่ 62  โดยพื้นที่ภาคเหนือดินมีความอุดมสมบูรณ์กระจายตัวในระดับต่่า  ปานกลางและสูง คือ ร้อยละ

                  25.10, 70.43 และ 4.47 ตามล่าดับ และดินมีปริมาณอินทรียวัตถุกระจายตัวระดับต่่า  ปานกลางและสูง คือ
                  ร้อยละ 43.67, 51.16 และ 5.18 ตามล่าดับ  ดินปัญหาที่พบ ประกอบด้วย ดินทราย และดินตื้น

                            1.2 ทรัพยากรดินภาคกลาง เป็นดินที่มีศักยภาพทางการเกษตรปานกลางถึงสูง  ดินส่วนใหญ่มี

                  ระดับความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง  เนื่องจากในช่วงฤดูน้่าหลากได้พาตะกอนมาทับถมทุกปี  ดินมีข้อจ่ากัด
                  น้อยและจัดการดินได้ค่อนข้างง่าย  มีพื้นที่รวม 43.45  ล้านไร่  โดยมีพื้นที่เกษตรกรรม 21.32 ล้านไร่ เป็น

                  พื้นที่การท่านา 8.94 ล้านไร่  พืชไร่ 6.74 ล้านไร่  ไม้ยืนต้น 1.66 ล้านไร่  ไม้ผล 2.14 ล้านไร่  สถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตว์น้่า 1.21 ล้านไร่ และอื่นๆ 0.63 ล้านไร่  มีดินที่เหมาะสมส่าหรับข้าวประมาณ 8.83 ล้านไร่ และ

                  มีความเหมาะสมส่าหรับพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้นทั่วไป ประมาณ 10.26 ล้านไร่
                            โดยมีสภาพพื้นที่ท่าการเกษตร ดังนี้ สภาพพื้นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ 12.03 ล้านไร่  ประกอบด้วยกลุ่ม

                  เนื้อดิน ดังนี้ กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเลนเละ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 12 และ 13  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว ได้แก่

                  กลุ่มชุดดินที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10 และ 11  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 15, 16, 17,
                  18, 21, 22 และ 59  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 23  กลุ่มที่ดินยกร่องส่วนใหญ่ทั้งดินบน

                  และดินล่างเป็นดินเหนียว ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 8  และกลุ่มที่เป็นดินเค็มมักพบในบริเวณที่ได้รับอิทธิพลจากน้่า

                  ทะเลในอดีต ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่  20สภาพพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง มีพื้นที่ 13.38 ล้านไร่  ประกอบด้วย
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192