Page 38 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาปีของศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                           25



























                                                 ภาพที่ 3.2 หน้าตัดดินของชุดดินร้อยเอ็ด

                                            เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิว

                       ของการเกลี่ยผิวแผ่นดินสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การ
                       ระบายน้ า ค่อนข้างเลวการไหลบ่าของน้ าบนผิวดินช้าการซึมผ่านได้ของน้ าปานกลางถึงช้าลักษณะและ
                       สมบัติดิน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทรายปนดินร่วน สีน้ าตาล ปนเทาหรือสี

                       น้ าตาล ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินร่วนปนทรายอาจพบชั้นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดิน
                       เหนียว สีเทาปนน้ าตาลอ่อนหรือเทาปนชมพู พบจุดประสีน้ าตาลปนเหลืองหรือสีน้ าตาลปนแดงตลอด
                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.5) ในดินบนและเป็น
                       กรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-6.5) ในดินล่าง (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548ก)
                       ชุดดินที่คล้ายคลึงกัน ชุดดินเรณูข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ความอุดมสมบูรณ์

                       ค่อนข้างต่ า เสี่ยงต่อการขาดน้ าในฤดูเพาะปลูกข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ หากใช้ท านาควรมีการ
                       ชลประทานเข้าช่วยและมีการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการใส่
                       ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก และปุ๋ยเคมีเพิ่มขึ้น ถ้าปลูกพืชโดยอาศัยน้ าฝน ควรเลือกระยะเวลาปลูกที่เหมาะสมเพื่อ

                       ลดอัตราเสี่ยงของการขาดแคลนน้ า
                                            การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินแต่ละชุดได้ใช้สมบัติทางเคมี 5 อย่าง คือ
                       ความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไออน (Cation  exchange  capacity-C.E.C.)  เปอร์เซ็นต์อิ่มตัวด้วยเบส
                       (Base saturation percentage, %BS) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic matter - OM) ฟอสฟอรัส

                       ที่เป็นประโยชน์ (Avalable  phosphorus-Avai.  P)  และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (Exchenable
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43