Page 34 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาปีของศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                           21







                       (1 ซอง) มาละลายน้ า 20 ลิตร แล้วคนให้สารเร่งละลายให้ทั่วกัน ประมาณ 15 นาที แล้วแบ่งไว้ 5 ลิตร
                       น าไปรดให้ทั่วชั้นที่ 2, 3 และ 4 ต่อไป
                                                                  - น าวัสดุกองทับลงบนชั้นแรกของกองปุ๋ยหมัก แล้ว
                       ปฏิบัติแบบเดียว กับการกองปุ๋ยหมักชั้นแรก ด าเนินการจนกระทั่งครบ 4 ชั้น โดยชั้นบนสุด ควรโรยทับ

                       ด้วยมูลสัตว์ หรือดินที่อุดมสมบูรณ์ให้ทั่วผิวหน้าของกองปุ๋ยหมัก
                                                                  - ส าหรับการใช้ฟางข้าวท าปุ๋ยหมัก จะใช้เวลา
                       ประมาณ 30-45 วัน และสามารถน าปุ๋ยที่ได้ไปต่อเชื้อส าหรับกองปุ๋ยหมักกองใหม่ได้เป็นอย่างดี หรือ
                       น าไปใช้เป็นวัสดุปรับปรุงบ ารุงดินตามความต้องการต่อไป

                                                   1.2.2) ผลการด าเนินงาน
                                                           ศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
                       ต าบลคู้ยายหมี อ าเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราได้ท าการผลิตปุ๋ยหมักเพื่อใช้ภายในศูนย์เรียนรู้และ
                       แจกจ่ายแก่เกษตรกรภายในพื้นที่ที่สนใจ จ านวน 5,000 กิโลกรัม

                                            1.3) การผลิตน้ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2
                                                   น้ าหมักชีวภาพ คือ น้ าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักเศษซากพืช ซาก
                       สัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่างๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นด้วยจุลินทรีย์จ าเพาะ ซึ่งอาจหมักร่วมกับกากน้ าตาลหรือ

                       น้ าตาลทรายแดงกระบวนการหมักของน้ าหมักชีวภาพจะเกิดจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์
                       โดยใช้กากน้ าตาลและน้ าตาลจากสารอินทรีย์เป็นแหล่งพลังงาน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548ข)
                                                   การผลิตน้ าหมักชีวภาพโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2  น้ าหมักชีวภาพ
                       เป็นของเหลว ซึ่งได้จากการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้จากพืชหรือสัตว์ ที่มีลักษณะสด อวบน้ า หรือมีความชื้น
                       สูง โดยอาศัยกิจกรรมของจุลินทรีย์ ทั้งในสภาพที่ไม่มีออกซิเจนและมีออกซิเจนท าให้ได้ฮอร์โมน หรือสาร

                       เสริมการเจริญเติบโตของพืช เช่น ออกซิน จิบเบอร์เรลลิน และไซโตไคนิน รวมทั้งกรดอินทรีย์ หลายชนิด
                       ได้แก่ กรดแลคติก กรดอะซีติก กรดอะมิโน และกรดฮิวมิก
                                                   สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เพิ่ม

                       ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีน ไขมัน ช่วยลดกลิ่นเหม็นระหว่างการหมัก และเพิ่มการละลายธาตุอาหารใน
                       การหมัก เช่น เปลือกไข่ ก้างปลาและกระดูกสัตว์ในเวลาสั้นและได้คุณภาพ ซึ่งเจริญได้ในสภาพเป็นกรด
                                                   1.3.1) น้ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2
                                                           (1) วัสดุและขั้นตอนการผลิตน้ าหมักชีวภาพ

                                                                  - ปลาหรือหอยเชอรี่ 30 กิโลกรัม
                                                                  - กากน้ าตาล 10 กิโลกรัม
                                                                  - ผักหรือผลไม้ 10 กิโลกรัม
                                                                  - น้ า 30 ลิตร
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39