Page 179 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 179

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             159





                  ตารางแสดง The Quantitative Strategies Planning Matrix - QSPM

                                                                           Strategic Alternatives
                            Key Factors              Weight
                                                                Strategy ๑  Strategy ๒        Strategy ๓
                   Key External Factors

                   Economy
                   Political/ Legal/ Governmental
                   Social/ Culture/ Demographic

                   Environmental
                   Technological
                   Competitive

                   Key Internal Factors
                   Management
                   Marketing

                   Finance/ Accounting
                   Production/ Operation
                   Research and Development
                   Computer Information Systems


                            การพัฒนา QSPM ประกอบด้วย ๖ ขั้นตอน
                            ขั้นตอนที่ ๑ ก าหนดรายการปัจจัยภายนอก – โอกาส และอุปสรรค และปัจจัยภายในจุดแข็งและ
                  จุดอ่อน ในคอลัมน์ซ้ายมือของ QSPM สารสนเทศน ามาโดยตรงจาก EFE Matrix และ IFE Matrix อย่างน้อย
                  ควรมีปัจจัยแห่งความส าเร็จทั้งภายในและภายนอก ๑๐ ปัจจัย

                            ขั้นตอนที่ ๒ ให้คะแนนถ่วงน้ าหนัก (Weights) แก่ปัจจัยแห่งความส าเร็จทั้งปัจจัยภายในและปัจจัย
                  ภายนอก คะแนนถ่วงน้ าหนัก (Weights) เท่ากันกับที่ท าใน EFE Matrix และ IFE Matrix
                            ขั้นตอนที่ ๓ ตรวจสอบขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนการจับคู่ (Matching)  Matrices  และค้นพบกลยุทธ์
                  ทางเลือกที่องค์กรควรพิจารณาน าไปปฏิบัติ บันทึกยุทธศาสตร์เหล่านี้ในแถบบนของ QSPM จัดกลุ่มทาง

                  ยุทธศาสตร์เข้าเป็นชุดที่เหมือนกัน (Set Strategies) ถ้าเป็นไปได้
                            ขั้นตอนที่ ๔ ก าหนดคะแนนความดึงดูด (Attractiveness  Score:  AS) ก าหนดคุณค่าเป็นตัวเลข
                  ให้แก่ยุทธศาสตร์ในชุดยุทธศาสตร์ทางเลือก คะแนนความดึงดูดถูกก าหนดโดยการตรวจสอบปัจจัยแห่ง
                  ความส าเร็จทั้งภายในและภายนอก ในแต่ละปัจจัยแล้วถามค าถามว่า “ปัจจัยนี้มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์

                  ทางเลือกหรือไม่” ถ้าค าตอบว่า ใช่ ก็ให้เปรียบเทียบถึงผลกระทบที่มีต่อยุทธศาสตร์ในแต่ละยุทธศาสตร์ ไม่ว่า
                  จะเป็นผลกระทบเชิงบวกหรือลบก็ตาม โดยท าการให้ค่าคะแนนความดึงดูด ดังนี้
                            คะแนน ๑ = ไม่ดึงดูด (NotAttractive)

                            คะแนน ๒ = ค่อนข้างดึงดูด (SomeAttractive)
                            คะแนน ๓ = ความดึงดูดสมเหตุสมผล (ReasonableAttractive)
                            คะแนน ๔ = มีความดึงดูดสูงสุด (HighlyAttractive)
                            ถ้าค าตอบ ไม่ แสดงว่าปัจจัยแห่งความส าเร็จนั้น ไม่มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ทางเลือก ดังนั้นไม่
                  ต้องให้ค่าคะแนนความดึงดูดแก่ยุทธศาสตร์



                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184