Page 182 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 182

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             162





                                                    ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา
                                                  Content validity index (CVI)


                            ความตรงเชิงเนื้อหาหมายถึงคุณสมบัติของเครื่องมือที่วัดได้ตรงและครอบคลุมขอบเขตเนื้อหา
                  (domain)  ที่เป็นองค์ประกอบส าคัญของมโนทัศน์หรือตัวแปรที่ต้องการวัดอย่างครบถ้วนซึ่งขึ้นกับข้อความหรือข้อ
                  ค าถามรายข้อที่เลือกมาว่าเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการวัดอย่างเพียงพอ (adequacy) ความตรงประเภทนี้มีความส าคัญ
                                                   ๒๒
                  มากส าหรับแบบทดสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์  หรือวัดความรู้ความเข้าใจ ทั้งนี้ในการสร้างเครื่องมือให้มีความตรงเชิง
                  เนื้อหาต้องเริ่มตั้งแต่กระบวนการสร้างข้อค าถามที่อาจได้เนื้อหามาจากการทบทวนวรรณกรรมจากผู้ทรงคุณวุฒิหรือ

                  จากตัวแทนประชากรกลุ่มเป้าหมายขั้นตอนนี้เรียกว่า prior content validation ส่วนการหาความตรงเชิงเนื้อหา
                                                                                ๒๓
                  ภายหลังจากสร้างเครื่องมือเสร็จแล้วเรียกว่า posterior content validation  ซึ่งโดยทั่วไปในการตรวจสอบภาย
                  หลังจากสร้างเครื่องมือเสร็จแล้วมีข้อแนะน าให้ผู้พัฒนาเครื่องมือให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในเนื้อหาที่

                  เกี่ยวข้อง  (content  expert)  จ านวน ๓  -  ๕ คนพิจารณาข้อความหรือข้อค าถามแต่ละข้อว่าเกี่ยวข้องหรือเป็น
                  ตัวแทนของมโนทัศน์ที่ต้องการวัดในระดับใดโดยผู้ทรงคุณวุฒิจะให้ความเห็นตามรายการประเมินเนื้อหาของ
                  งานวิจัย ด้วยเกณฑ์ ๔ ระดับ คือ
                            ๔ หมายถึง เกี่ยวข้องมาก (เนื้อหามีความถูกต้อง/เหมาะสม มาก)

                            ๓ หมายถึง เกี่ยวข้องพอควรแต่ต้องปรับแก้ (เนื้อหามีความถูกต้อง/เหมาะสม ค่อนข้างมาก)
                            ๒ หมายถึง เกี่ยวข้องเล็กน้อยหรือไม่สามารถประเมินได้ถ้าไม่ปรับแก้ (เนื้อหามีความถูกต้อง/
                  เหมาะสม น้อย)
                            ๑ หมายถึงไม่เกี่ยวข้อง(เนื้อหาไม่ถูกต้องเหมาะสม)

                            หลังจากนั้นน าผลการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิมาค านวณค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา  (Content
                  Validity  Index  [CVI])  ซึ่งในกรณีที่มีผู้ทรงคุณวุฒิ  ๒  คน  CVI  หมายถึงสัดส่วน  (proportion)  ของข้อค าถามที่
                  ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง ๒ คนมีความเห็นตรงกันว่าข้อค าถามนั้นมีความเกี่ยวข้องมาก หรือเกี่ยวข้องพอควรกับสิ่งที่ต้องการ
                  วัด คือค่า CVI เท่ากับ จ านวนข้อที่ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง๒คนเลือกตอบ๓หรือ๔ตรงกันหารด้วยจ านวนข้อทั้งหมดค่า CVI
                                                                                         ๒๔, ๒๕
                  มีค่าระหว่าง ๐ถึง ๑.๐๐ ส าหรับเครื่องมือที่พัฒนาใหม่ค่า CVI ขั้นต่ าที่ยอมรับได้คือ ๐.๘๐
                            สูตรในการวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity Index: CVI) เพื่อบ่งชี้คุณภาพของเนื้อหา
                  ของงานวิจัยด้วย CVI มีดังนี้


                         CVI = จ านวนค าถามที่ผู้ทรงคุณวุฒิทุกคนให้ความเห็นในระดับ ๓ และ ๔
                                                 จ านวนค าถามทั้งหมด






                                                                        rd
                     ๒๒
                           Nunnally, J. C., & Bernstein, I.H., Psychometric theory. (3  ed.). New York: McGraw-Hill., 1994.
                                                                                                rd
                           Waltz, C., Strickland, O., & Lenz, E., Measurement in nursing and health research. (3  ed.). New
                     ๒๓
                  York: Springer Publishing Company, 2005.
                                                                                     th
                     ๒๔
                           Polit, D.F., & Hungler, B.P., Nursing research: Principles and methods (6  ed.). Philadelphia:
                  Lippincott, 1999.
                                                                                  th
                           Polit, D.F., & Beck, C.T. Nursing research: Principles and methods. (7  ed.). Philadelphia: Lippincott,
                     ๒๕
                  Williams & Wilkins, 2004.

                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187