Page 166 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 166

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             136





                  8.4 ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

                            8.4.1  ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis)

                                   พบว่ามีจ านวนปัจจัยรวม ๓๖ รายการ ประกอบด้วยปัจจัยด้านจุดแข็งจุดอ่อน โอกาสและ
                  อุปสรรค มีจ านวนเท่ากับ ๙ ๙ ๘ และ๑๐ รายการ ตามล าดับ

                            8.4.2  การประเมินเชิงปริมาณคะแนนถ่วงน้ าหนักด้วยวิธี IFE & EFE Matrix
                                   พบว่า จุดแข็งมีคะแนนรวม ๑.๖๘๗๕ จุดอ่อนมีคะแนนรวม ๑.๘๖๒๕ โอกาสมีคะแนน
                  รวม ๑.๓๔๕ และอุปสรรคมีคะแนนรวม ๑.๘๔๕


                            8.4.3  ผลการคัดเลือกปัจจัยด้วยน้ าหนัก IFE Weight และEFE Weight ที่ปรับแล้ว
                                   พบว่ามีปัจจัยที่ได้รับการคัดเลือกรวม ๑๕ รายการประกอบด้วยปัจจัยด้านจุดแข็งจุดอ่อน
                  โอกาสและอุปสรรค มีจ านวนเท่ากับ ๔ ๔ ๓ และ ๔ รายการ ตามล าดับ

                            8.4.4  การสร้างกลยุทธ์ทางเลือกโดยใช้ TOWs Matrix
                                   ด้วยการจับคู่อุปสรรค โอกาส จุดอ่อน จุดแข็ง พบว่ามีกลยุทธ์ทางเลือก ๑๒ วิธี
                  ประกอบด้วย กลยุทธ์ SOST WO และWT ซึ่งแต่ละประเภทมีกลยุทธ์ทางเลือก ๓ วิธี


                            8.4.5  ผลการคัดเลือกกลยุทธ์ทางเลือกตามล าดับความส าคัญด้วยวิธี QSPM
                                   พบว่า สามารถคัดเลือกกลยุทธ์ทางเลือกที่มีคะแนนความส าคัญ/น่าสนใจ (TAS) สูงสุดห้า
                  อันดับแรก คือ
                                   กลยุทธ์ที่ ๑ :   การบริหารจัดการพื้นที่นาร้างเพื่อพัฒนาพื้นที่ท ากินทางการเกษตรอย่าง
                                                ยั่งยืน

                                   กลยุทธ์ที่ ๒ :   การขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์
                                   กลยุทธ์ที่ ๓ :   เกษตรกรเข้าถึงการบริการงานพัฒนาที่ดินอย่างทั่วถึง
                                   กลยุทธ์ที่ ๔ :   การบูรณาการฟื้นฟูระบบการบริหารจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิด
                                                เอกภาพและยั่งยืน

                                   กลยุทธ์ที่ ๕ :   การส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพของเกษตรกรโดยใช้ปรัชญา
                                                เศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร

                            8.4.6  ผลการก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์
                                   โดยอาศัยกลยุทธ์ทั้ง ๕ ข้อ น ามาวิเคราะห์เพื่อความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจ
                  จนกระทั่งได้ผลสรุป ๔ ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

                                   (๑) การพัฒนาและฟื้นฟูนาร้างเพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นดิน
                                   (๒) การอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ าเพื่อสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานภาคเกษตรกรรมให้เข้มแข็ง
                                   (๓) น้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมให้เกิดความยั่งยืน

                                   (๔) การสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมบนรากฐานของการมีส่วนร่วม

                            8.4.7  แนวทางการน าแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติโดยผ่านแผนที่ยุทธศาสตร์ และโครงการคิด
                  ริเริ่มใหม่
                                   ท าให้เกิดความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของประเด็นยุทธศาสตร์ทั้ง ๔ ข้อ ทั้งนี้ภายใต้กล
                  ยุทธ์ทั้ง ๕ ผู้วิจัยได้ท าการระดมสมองเพื่อก าหนดโครงการคิดริเริ่มใหม่ (Initiative  Projects) รวมทั้งสิ้น ๑๙

                  โครงการ แล้วน าไปผ่านกระบวนการคัดเลือกโครงการตามล าดับความส าคัญของโครงการโดยการพิจารณา ใน

                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171