Page 19 - การกำหนดเขตการใช้ที่ดินสำหรับปลูกข้าวหอมมะลิของประเทศไทย
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             2-7





                      ตารางที่ 2-1  ลักษณะเด่นประจํากลุ่มชุุดดิน


                                                ลักษณะเด่นประจํากลุ่มชุดดิน                   กลุ่มชุดดิน
                       1  กลุ่มชุุดดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่นํ้าขัง
                          กลุ่มดินเหนียว
                             - ดินเหนียวสีดําลึกมาก มีรอยแตกระแหงกว้างและลึก                      1
                             - ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนนํ้ากร่อย อาจพบชั้นเลนของตะกอนนํ้าทะเล   3
                             - ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้าที่มีอายุยังน้อย ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง   4
                             - ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า การระบายนํ้าเลว ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง  5
                             - ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด  6
                             - ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า การระบายนํ้าค่อนข้างเลว ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง
                         ถึงเป็นด่าง                                                              7
                          กลุ่มดินที่มีการยกร่อง
                             - ดินที่มีการยกร่อง เพื่อเปลี่ยนสภาพการใช้ที่ดินจากนาข้าวเป็นพืชผักหรือไม้ผล   8
                          กลุ่มดินเปรี้ยวจัด
                             - ดินเหนียวลึกมาก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากหรือดินเปรี้ยวจัด         2
                             - ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนนํ้าทะเลที่เป็นดินเค็มและเปรี้ยวจัด   9
                             - ดินเปรี้ยวจัดตื้นที่เกิดจากตะกอนนํ้าทะเล                          10
                             - ดินเปรี้ยวจัดลึกปานกลางที่เกิดจากตะกอนนํ้าทะเล                    11
                             - ดินเปรี้ยวจัดลึกปานกลางและมีชั้นดินเลนที่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินเปรี้ยวจัด   14
                          กลุ่มดินเลนชายทะเล
                             - ดินเลนเค็มชายทะเล และไม่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินกรดกํามะถัน     12
                             - ดินเลนเค็มชายทะเลที่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินกรดกํามะถัน         13
                          กลุ่มดินทรายแป้ ง
                             - ดินทรายแป้ งลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง   15
                             - ดินทรายแป้ งลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก   16
                           กลุ่มดินร่วนละเอียด
                             - ดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก   17
                             - ดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง   18
                            กลุ่มดินร่วนหยาบ
                             - ดินร่วนหยาบที่เกิดจากตะกอนลํานํ้า มีชั้นแน่นทึบภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน  19
                             - ดินร่วนหยาบลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้าในส่วนตํ่าของพื้นที่ริมแม่นํ้า   21
                             - ดินร่วนหยาบลึกมากที่เกิดจากตะกอนลํานํ้าเนื้อหยาบ                  22
                             - ดินร่วนที่เกิดจากดินตะกอนนํ้าพาเชิงซ้อน ชั้นดินมีลักษณะเป็นชั้นสลับ   59
                            กลุ่มดินเค็ม
                             - ดินเค็มเกิดจากตะกอนลํานํ้า มีคราบเกลือลอยหน้าหรือมีชั้นดานแข็งที่สะสมเกลือ   20
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24