Page 132 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 132

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          97


               ตารางที่ 28 ศักยภาพของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ พื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง

                           อ าเภอปัว จังหวัดน่าน

                                                                                                    เนื อที่
                   หน่วยแผนที่               ชั นความเหมาะสม                  ข้อจ ากัด
                                                                                                ไร่    ร้อยละ
               1.   AC-mw,fl-      เหมาะสมดีส าหรับปลูกยางพารา ปาล์มน้ ามัน  ความอุดมสมบูรณ์ของดิน    119   4.13
                     lA/E0d5       มะม่วง มะขาม ส้ม ลิ้นจี่ และล าไย
                                   เหมาะสมดีปานกลางส าหรับปลูกข้าวโพด    อันตรายจากการถูกน้ าท่วม
                                   และมันส าปะหลัง
               2.   AC-spd,fl-     เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกปาล์มน้ ามัน           -              118      4.06
                     clA/E0d5      และมะขาม
                                   เหมาะสมดีปานกลางส าหรับปลูกข้าว    การระบายน้ าของดิน และ
                                   มันส าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา   อันตรายจากการถูกน้ าท่วม
                                   มะม่วง และล าไย
               3.   Ws-clB/E1d4    เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกมันส าปะหลัง           -              770     26.74
                     Ws-clC/E1d3   ปาล์มน้ ามัน ยางพารา มะม่วง มะขาม และส้ม
                                   เหมาะสมดีส าหรับปลูกข้าวโพด        เสี่ยงต่อการขาดน้ า
               4.    Ws-clD/E1d3   เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกมะม่วง ส้ม             -              477     16.57
                     Ws-clD/E2d3   และมะขาม
                                   เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกยางพารา ส้ม  สภาพพื้นที่มีความลาดชัน
                                   ลิ้นจี่ และล าไย                   ความลึกที่พบชั้นหินพื้น
                                                                      และการกร่อนดิน
               7.   Ws-clE/ E2d3   เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกลิ้นจี่   ความลึกที่พบชั้นหินพื้นและ  1,396   48.50
                                                                      การกร่อนดิน
                                   ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกยางพารา มะม่วง  สภาพพื้นที่มีความลาดชัน
                                   ปาล์มน้ ามัน มะขาม ส้ม และล าไย

                                                    รวม                                        2,880   100.00
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137