Page 28 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       16


                 ตั งแต่ร้อยละ 30 ขึ นไป นอกจากนี จะต้องมีรอยแตกระแหงของดิน ซึ่งเมื่อได้รับความชื นพอเพียง

                 รอยแตกระแหงนั นจะปิด

                             3.17.2 การจ้าแนกอันดับดินย่อย

                             การจ าแนกระดับอันดับดินย่อย (soil suborder classification) เป็นการจ าแนกดินที่

                 ละเอียดกว่าและอยู่ในขั นต่ ากว่าการจ าแนกดินระดับอันดับดิน การจ าแนกระดับอันดับดินย่อยใช้ลักษณะ

                 และสมบัติที่เป็นข้อปลีกย่อยไปจากข้อก าหนดที่ใช้ในการจ าแนกดินระดับอันดับดิน ลักษณะและสมบัติที่ใช้

                 จะเกี่ยวข้องกับชนิดและอัตราการสลายตัวของวัตถุต้นก าเนิด การแช่ขังน  าหรือการอิ่มตัวด้วยน  า สภาพ

                 ความชื นดิน ชั นอุณหภูมิดิน การสะสมอินทรียวัตถุและปริมาณแร่ธาตุที่เหลือค้างในดิน

                             3.17.3 การจ้าแนกกลุ่มดินใหญ่

                             การจ าแนกระดับกลุ่มดินใหญ่ (soil great group classification) เป็นการจ าแนกดินที่

                 ละเอียดกว่าและอยู่ในขั นต่ ากว่าการจ าแนกดินระดับอันดับดินย่อย การจ าแนกระดับกลุ่มดินใหญ่ใช้ลักษณะ

                 และสมบัติที่เป็นข้อปลีกย่อยไปจากข้อก าหนดที่ใช้ในการจ าแนกดินระดับอันดับดินย่อย ลักษณะและสมบัติที่

                 ใช้จะเกี่ยวข้องกับชนิดและอัตราการสลายตัวของวัตถุต้นก าเนิด การแช่ขังน  าหรือการอิ่มตัวด้วยน  า สภาพ

                 ความชื นดิน ชั นอุณหภูมิดิน สิ่งเจือปนในดิน สารประกอบหรือการสะสมสารต่างๆ ในดินชั นล่าง และการ

                 จัดเรียงชั นของดิน

                             3.17.4 การจ้าแนกกลุ่มดินย่อย

                             การจ าแนกระดับกลุ่มดินย่อย (soil subgroup classification) เป็นการจ าแนกดินที่ละเอียด

                 กว่าและอยู่ในขั นต่ ากว่าการจ าแนกดินระดับกลุ่มดินใหญ่ การจ าแนกระดับกลุ่มดินย่อยใช้ลักษณะและสมบัติ

                 ที่เป็นข้อปลีกย่อยไปจากข้อก าหนดที่ใช้ในการจ าแนกดินระดับกลุ่มดินใหญ่ ลักษณะและสมบัติที่ใช้จะ

                 เกี่ยวข้องกับชนิดและอัตราการสลายตัวของวัตถุต้นก าเนิด การระบายน  า การแช่ขังน  าหรือการอิ่มตัวด้วยน  า

                 สภาพความชื นดิน ชั นอุณหภูมิดิน สิ่งเจือปนในดิน การแตกระแหงของดิน ชั นหินพื น และสีดิน

                             3.17.5 การจ้าแนกวงศ์ดิน

                             การจ าแนกระดับวงศ์ดิน (soil family classification) เป็นการจ าแนกดินที่ละเอียดกว่าและ

                 อยู่ในขั นต่ ากว่าการจ าแนกดินระดับกลุ่มดินย่อย การจ าแนกระดับวงศ์ดินใช้ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี

                 และทางแร่ที่เกี่ยวข้องกับชั นขนาดอนุภาค (particle size classes) ชั นแร่ (mineralogy classes) ชั น

                 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (cation exchange activity classes) ชั นการมีปูนปนและชั นปฏิกิริยา

                 (calcareous and reaction classes) ชั นอุณหภูมิดิน (soil temperature classes) ชั นความลึกของดิน

                 (soil depth classes) ชั นความคงทนต่อความแตกหัก (rupture resistance classes) ชั นการมีสารเคลือบ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33