Page 147 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 147

4-12





                                  5.  สงเสริมใหเกษตรกรใชสารเรงพด.1 พด.2 และ พด.12 ในการทําปุยหมัก

                  ปุยอินทรียน้ํา และเพื่อสรางธาตุอาหารที่เปนประโยชนใหกับพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณในดิน

                              2.3.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 233)

                                         มีพื้นที่ 4,976 ไร หรือรอยละ 0.44 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ลักษณะของดิน
                  สวนใหญเปนดินตื้น มักพบชั้นกรวด หิน ในระดับต่ํากวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน บางบริเวณเปน

                  พื้นที่ดินทรายจัด ดินมีการระบายน้ําดีและความสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ํา เกษตรกรปลูกไมผล

                  เชน ทุเรียน มังคุด เงาะ มะมวงหิมพานต และไมผลผสม โดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก จากการประเมิน
                  คุณภาพที่ดินทางกายภาพ พบวา ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย มีขอจํากัดเรื่องการหยั่งรากของพืช

                  รวมถึงมีแนวโนมในการชะลางพังทลายของดินสูง

                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ดําเนินการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในเขตพื้นที่นี้ รวมทั้งการปรับปรุง
                  ประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ลําคลองสาธารณะ ใหมีการกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  สงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูกไมผลในชวงระยะที่ดินมีความชื้น

                  ที่เหมาะสมตอพืช เพราะเปนพื้นที่เกษตรกรรรมโดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก
                                  3.  ปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณและลักษณะทางกายภาพ

                  ของดินที่เหมาะสมสําหรับการปลูกไมผล โดยการใสปุยวิทยาศาสตรควรเลือกสูตรปุย จํานวนและระยะเวลา

                  การใสปุยใหเหมาะสมกับชนิดพืชเพื่อเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน
                                         4.  สงเสริมใหเกษตรกรในพื้นที่ปรับปรุงคุณภาพของโครงสรางดินโดยการคลุมดิน

                  เพื่อใหดินมีความชื้นและสามารถยอยสลายเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                                  5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจ
                  การตอรองทางการตลาด ใหเกษตรกรมีความเขมแข็ง

                              2.3.3  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 234)

                                         มีพื้นที่ 154,487 ไร หรือรอยละ 13.59 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ลักษณะพื้นที่

                  คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินทรายจัด และดินตื้น มีขอจํากัดเรื่องการระบายน้ํา ดินมี
                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับต่ํา สภาพการใชที่ดิน เกษตรกรมีการปลูกไมยืนตน เชน ยางพารา

                  ปาลมน้ํามัน กาแฟ เปนตนโดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก จากการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพ

                  พบวา ดินมีความเหมาะสมเล็กนอยโดยมีขอจํากัดเรื่องความเปนประโยชนของธาตุอาหารและ

                  ขาดความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152