Page 146 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 146

4-11





                                         2.  หนวยงานของรัฐตองเรงใหการสนับสนุนทั้งเงินลงทุน และทางวิชาการ

                  แกเกษตรกรในพื้นที่เขตนี้อยางจริงจังเพราะเปนพื้นที่ที่ทรัพยากรที่ดินมีขอจํากัดตอการเกษตรกรรม

                  คอนขางสูง แตเกษตรกรในพื้นที่มีความยากจน และไมสามารถเปลี่ยนการประกอบอาชีพเปนอยางอื่นได
                                  3.  ปรับปรุงโครงสรางของดิน โดยการใชปุยพืชสด ปุยคอก หรือปุยหมัก ซึ่งจะ

                  ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการอุมน้ําของดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืช โดยมีการใชปุยวิทยาศาสตร

                  ที่เหมาะสมกับชนิดพืช ทั้งเรื่องสูตรปุย จํานวนและชวงระยะที่ใสปุยที่เหมาะสม

                                  4.  พื้นที่ลาดชันควรสงเสริมใหมีการจัดอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่

                          2.3   เขตเรงรัดพัฒนาการเกษตร (หนวยแผนที่ 23)

                                  มีพื้นที่ 168,308 ไร หรือรอยละ 14.81 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ที่ใชน้ําฝนเปนหลัก
                  ในการเกษตรและพบปญหาการใชที่ดิน พื้นที่สวนใหญเปนดินตื้น รวมถึงเปนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง

                  จึงกอใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน แตเนื่องจากเกษตรกรมีความจําเปนตองใชพื้นที่ดังกลาว
                  เพื่อทําการเกษตร ทั้งที่ผลการประเมินความเหมาะสมของที่ดินในเขตนี้อยูระดับเหมาะสมเล็กนอย

                  จําเปนตองปรับปรุงพื้นที่ดังกลาว ซึ่งวิธีการอาจยุงยากและมีคาใชจายสูง พื้นที่นี้สามารถแบงเขตการใชที่ดิน

                  เพื่อการผลิตได 4 เขต ดังนี้
                                   2.3.1  เขตทํานา  (หนวยแผนที่ 231)

                                         มีพื้นที่ 4,903  ไร หรือรอยละ 0.43  ของพื้นที่พื้นที่ลุมน้ํา สภาพพื้นที่เปน ดินตื้น
                  มีกรวดทรายปนอยูในชั้นดิน ลักษณะทางกายภาพของดินไมเหมาะสมตอการปลูกขาวเนื่องจากเปนดินตื้น

                  และการระบายน้ําดีถึงดีมาก พื้นที่สวนใหญอยูในสภาพของนาราง
                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่

                  รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน

                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลยืนตน รวมกัน
                                  3.  สงเสริมใหเกษตรกรใชพื้นที่ใหเหมาะสมกับศักยภาพของที่ดินโดย

                  สงเสริมชนิดพันธุที่เหมาะสมในพื้นที่ หากตองการนําพื้นที่นารางมาใชในการปลูกขาวตองปรับปรุง

                  ดินในพื้นที่ดังกลาวกอนทํานา
                                         4.  สงเสริมใหเกษตรกรปรับปรุงคุณภาพของดินโดยเนนการปรับปรุง

                  โครงสรางดินใหดีขึ้น จึงควรสงเสริมใหเกษตรกรคลุมดิน ใหดินมีความชื้นและสามารถยอยสลาย

                  เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพา
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151