Page 144 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 144

4-9





                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรปรับปรุงระบบการสงน้ําจากโครงการชลประทานที่มีอยูใหมี

                  ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสามารถกระจายการสงน้ําใหครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม

                                  2.  หนวยงานที่เกี่ยวของควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึง
                  ปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําสํารองไวใช

                  ในชวงที่น้ําชลประทานไมเพียงพอ

                                         3.  หนวยงานของรัฐตองเรงใหการสนับสนุนทั้งเงินลงทุน และทางวิชาการ
                  แกเกษตรกรในพื้นที่เขตนี้อยางจริงจังเพราะเปนพื้นที่ที่ทรัพยากรที่ดินมีขอจํากัดตอการเกษตรกรรม

                  คอนขางสูง แตเกษตรกรในพื้นที่มีความยากจน และไมสามารถเปลี่ยนการประกอบอาชีพเปนอยางอื่นได

                                  4.  ปรับปรุงโครงสรางของดิน โดยการใชปุยพืชสด ปุยคอก หรือปุยหมัก

                  ซึ่งจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการอุมน้ําของดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืช โดยมีการใชปุย
                  วิทยาศาสตรที่เหมาะสมกับชนิดพืช ทั้งเรื่องสูตรปุย จํานวนและชวงระยะที่ใสปุยที่เหมาะสม

                                  5.  พื้นที่ลาดชันควรสงเสริมใหมีการจัดอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่

                          2.2   เขตเกษตรกาวหนา (หนวยแผนที่ 22)

                                  มีพื้นที่ 369,849 ไร หรือรอยละ 32.54 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตนี้เกษตรกรทําการเกษตร

                  โดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ดินมีศักยภาพในการผลิตปานกลางถึงสูง พื้นที่สวนใหญทํานาครั้งเดียว หรือ
                  หากปลูกไมยืนตนก็ควรปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน เปนหลัก ปญหาหลักที่พบในเขตนี้ไดแก ปญหา

                  เรื่องปริมาณน้ําที่มากเกินไปในชวงฤดูฝนและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลาง สามารถแบงเขตการใช

                  ที่ดินเพื่อการผลิตได 3 เขต ดังนี้
                                   2.2.1  เขตทํานา (หนวยแผนที่ 221)

                                         มีพื้นที่ 10,296 ไร หรือรอยละ 0.91 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ดินมีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง

                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็กใน
                  พื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุย

                  วิทยาศาสตรรวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน
                                  3.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตร

                  ผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลยืนตน

                  รวมกัน




                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพา
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149