Page 143 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 143

4-8





                                   แนวทางการพัฒนา

                                   1.  ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2540 เรื่อง

                  “แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไมระดับพื้นที่”  เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน

                  และปาไมอยางมีระบบโดยเปนการอนุรักษควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสงวนรักษาทรัพยากรปาไม
                  ที่เหลืออยู และฟนฟูทรัพยากรปาไมที่เสื่อมสภาพ ทั้งนี้ตองอยูบนหลักการลดปญหาความขัดแยง

                  การใชทรัพยากรในพื้นที่

                                   2.  หนวยงานที่เกี่ยวของใชหลักการการจัดการปาไมและการจัดการปาชุมชน
                  ผสมผสานกัน เพื่อใหสภาพปาคงอยูและใชประโยชนดานตางๆไดอยางยั่งยืน

                              3.  ควรจัดทําแนวกันไฟเพื่อปองกันไฟปาที่อาจเกิดขึ้นไดจากธรรมชาติ

                  หรือกิจกรรมจากมนุษย
                                   4.  สงเสริมและรณรงคใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของทรัพยากร

                  ปาไมและสรางความตระหนักในการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่

                      2.  เขตเกษตรกรรม

                        มีพื้นที่ 602,732 ไร หรือรอยละ 53.03  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ที่อยูนอกเขตปา

                  ตามกฎหมาย นอกบริเวณที่มีมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการใชที่ดิน เกษตรกรสวนใหญในลุมน้ําสาขา

                  ปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน และไมผลชนิดตางๆ พื้นที่ดังกลาว มีความสําคัญตอวิถีชีวิตของเกษตรกรและ
                  เศรษฐกิจของประเทศ สามารถแบงตามความเหมาะสมของที่ดิน ศักยภาพของพื้นที่และแนวโนมของ

                  การพัฒนาที่ดินดานการเกษตร แบงได 5 เขต ไดแก

                          2.1   เขตเกษตรพัฒนา (หนวยแผนที่ 21)
                                  มีพื้นที่ 677 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ถูกกําหนดไวเพื่อใหเปนพื้นที่

                  ที่มีความเหมาะสมและมีศักยภาพสูงในการทําการเกษตรเพื่อรองรับการบริโภคในประเทศและ

                  สงออก ลักษณะพื้นที่คอนขางราบเรียบ ดินเปนดินเหนียว ดินรวน ลึกถึงลึกมาก มีความเหมาะสมใน
                  การทํานา ปลูกไมผล และพืชผัก รวมถึงเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการสงน้ําเพื่อการเกษตรนอกฤดูฝน

                  สามารถปลูกพืชผักไดตลอดทั้งป จัดทําเขตยอยตามการใชประโยชนที่ดินดังนี้

                                   2.1.1  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 214)

                                         มีพื้นที่ 667  ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา อยูในเขตชลประทาน
                  ดินมีการระบายน้ําดี มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติคอนขางต่ําถึงต่ํา ปจจุบันนิยมปลูกยางพาราและ

                  ปาลมน้ํามันกันเปนจํานวนมาก








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148