Page 145 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 145

4-10





                                  4.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อผลักดันใหชุมชนมีโรงสีขาวเปนของ

                  กลุมและสรางอํานาจตอรองทางการตลาด

                                   2.2.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 223)

                                  มีพื้นที่ 24,244 ไร หรือรอยละ 2.13 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา พืชที่ปลูกไดแก
                  ทุเรียน เงาะ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก มีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีขอจํากัดเรื่องความอุดมสมบูรณในดินมักพบอยูบริเวณริมน้ํา สามารถ

                  สูบน้ําขึ้นมาใชในชวงฤดูแลงได
                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.   สงเสริมใหมีการขยายเขตโครงการชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม

                                  2.   หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็ก

                  ในพื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ํา
                  ไดดีขึ้น

                                  3.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุยวิทยาศาสตร

                  รวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน
                                  4.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน

                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผล และไมยืนตนรวมกัน

                                         5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกันปลูกพืชผักอินทรียเพื่อเพิ่มมูลคาการผลิต
                                  6.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจตอรอง

                  ทางการเกษตร

                                   2.2.3  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 224)

                                         มีพื้นที่ 355,309 ไร หรือรอยละ 29.50 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ดินมีการระบายน้ําดี
                  มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติคอนขางต่ํา ปจจุบันนิยมปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน กันเปนจํานวน

                  มาก จากผลการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพ พบดินมีความเหมาะสมเล็กนอย โดยมีขอจํากัด

                  เรื่องการหยั่งลึกของรากพืช และมีแนวโนมของการเกิดการชะลางพังทลายของดิน

                                  แนวทางการพัฒนา
                                  1.  ควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของ

                  แหลงน้ําตามธรรมชาติ เชนเหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําได  รวมถึงการสงเสริมใหมีการขยายเขต

                  โครงการชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม










                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150