Page 130 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 130

3-62





                                (1)  การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเดียวกันในหน่วยที่ดินต่างกัน

                                      เขตเกษตรน ้ำฝน

                                      ข้ำวนำปี ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6 7 และ 25 พบว่า มีระดับความเหมาะสมทาง

                  เศรษฐกิจอยู่ในระดับเล็กน้อย (S3) เช่นเดียวกัน  แต่ในหน่วยที่ดินที่ 6 และ 7  มีแนวโน้มว่าจะได้รับ

                  รายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 25
                                      ยำงพำรำ ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26  32  34  และ  45  พบว่า  มีระดับความ

                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) เช่นเดียวกัน แต่ในหน่วยที่ดินที่ 32 มีแนวโน้มว่าจะ

                  ได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 26 34 และ 45

                                      ปำล์มน ้ำมัน  ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26  32  และ 45  พบว่า ในหน่วยที่ดินที่ 26  มี
                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับสูง (S1) และในหน่วยที่ดินที่ 32 และ 45  มีระดับความ

                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2)  เช่นเดียวกัน แต่ในหน่วยที่ดินที่ 26 มีแนวโน้มว่าจะ

                  ได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 32 และ 45

                                      เขตชลประทำน
                                      ข้ำวเจ้ำนำปี (นำด้ำ) พันธุ์อัลฮัม  ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6I  18I  และ 25I  มีระดับ

                  ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2)  ทั้ง  3 หน่วยที่ดิน แต่ในหน่วยที่ดินที่ 6I  มี

                  แนวโน้มว่าจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดิน
                  ที่ 18I และ 25I

                                (2)  การใช้ประโยชน์ที่ดินต่างประเภทกันในหน่วยที่ดินเดียวกัน

                                      เขตเกษตรน ้ำฝน

                                      หน่วยที่ดินที่ 6 เกษตรกรปลูกข้าวนาปีพันธุ์อัลฮัมและพันธุ์เฉี้ยงพัทลุง มีระดับ

                  ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับเล็กน้อย (S3)  เช่นเดียวกัน แต่ข้าวนาปีพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงจะ
                  ได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกข้าวนาปีพันธุ์

                  อัลฮัม

                                      หน่วยที่ดินที่ 26  เกษตรกรปลูกยางพารา และปาล์มน้้ามัน มีระดับความ
                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) และสูง (S1) ตามล้าดับ ดังนั้นควรแนะน้าให้

                  เกษตรกรเลือกปลูกปาล์มน้้ามัน เนื่องจากจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกยางพารา












                                                                                                                                                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135