Page 128 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 128

3-60





                  รายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราส่วนของผลได้ต่อต้นทุนผันแปร (B/C Ratio)  ตลอดจน

                  น้าต้นทุนผันแปรและรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมาพิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์พบว่าการ

                  ปลูกยางพารา ในหน่วยที่ดินที่ 26 32 34 และ 45 ผลผลิตเฉลี่ยระหว่าง 233.42 – 266.80 กิโลกรัมต่อไร่  รายได้
                  ระหว่าง 9,441.08 – 10,674.69 บาทต่อไร่  ต้นทุนผันแปรระหว่าง 5,804.10 – 6,453.80 บาทต่อไร่ รายได้

                  เหนือต้นทุนผันแปร 3,203.21  –  4,327.56  บาทต่อไร่  และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปร

                  ระหว่าง 1.50 – 1.68 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการ

                  ปลูกยางพารา อยู่ในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 4 หน่วยที่ดิน

                                ปำล์มน ้ำมัน  ส้ารวจจ้านวน 3 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 26 32 และ 45 พันธุ์ที่ปลูก
                  เป็นพันธุ์ลูกผสมเทเนอรา และสุราษฎร์ธานี - 2 ปาล์มน้้ามันเป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี

                  การวิเคราะห์ครั้งนี้ก้าหนดให้ปาล์มน้้ามันมีรอบอายุการผลิต 20 ปี การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต

                  ปาล์มน้้ามัน จึงใช้มูลค่าปัจจุบันของรายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด (NPV)  อัตราส่วนของผลได้ต่อ
                  ต้นทุนผันแปร (B/C  Ratio)  ตลอดจนน้าต้นทุนผันแปรและรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมา

                  พิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์พบว่าการปลูกปาล์มน้้ามัน ในหน่วยที่ดินที่ 26  ผลผลิตเฉลี่ย

                  4,237.40  กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 12,027.92 บาทต่อไร่  ต้นทุนผันแปร 5,685.62  บาทต่อไร่ รายได้เหนือ
                  ต้นทุนผันแปร 6,342.30 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 2.12 จึงส่งผลให้

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกปาล์มน้้ามัน อยู่ในระดับสูง (S1)

                  ส้าหรับหน่วยที่ดินที่ 32 และ 45 ผลผลิตเฉลี่ย  3,797.52  และ 3,222.24 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้
                  10,761.10  และ 9,523.74  บาทต่อไร่ตามล้าดับ ต้นทุนผันแปร 5,530.44  และ 5,543.16  บาทต่อไร่

                  ตามล้าดับ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 5,230.66 และ 3,980.58 บาทต่อไร่ตามล้าดับ และอัตราส่วนของ

                  รายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ  1.95  และ1.72  ตามล้าดับ  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทาง

                  เศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกปาล์มน้้ามัน อยู่ในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 2 หน่วยที่ดิน
                                เขตชลประทำน  ส้ารวจจ้านวน 5 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 5I 6I 17I 18I และ 25I

                  ดังนี้

                                ข้ำวเจ้ำนำปี (นำด้ำ) พันธุ์อัลฮัม – ข้ำวเจ้ำนำปรัง (นำด้ำ) พันธุ์ปทุมธำนี ส้ารวจ

                  จ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 5I ผลผลิตข้าวนาปีเฉลี่ย 440 กิโลกรัมต่อไร่ ข้าวนาปรังเฉลี่ย
                  700 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 11,509.80 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 8,095.45 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  3,414.35 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.42 จึงส่งผลให้ระดับความ

                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์อัลฮัม – ข้าวเจ้านาปรัง
                  (นาด้า) พันธุ์ปทุมธานี อยู่ในระดับสูง (S1)









                                                                                                                                                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133