Page 129 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 129

3-61





                                ข้ำวเจ้ำนำปี (นำหว่ำน) พันธุ์อัลฮัม – ข้ำวเจ้ำนำปรัง (นำหว่ำน) พันธุ์ปทุมธำนี  ส้ารวจ

                  จ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 17I ผลผลิตข้าวนาปีเฉลี่ย 420 กิโลกรัมต่อไร่ ข้าวนาปรังเฉลี่ย

                  500 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 9,444.40 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 7,580.76 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  1,863.64 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.25 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสม
                  ทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาหว่าน) พันธุ์อัลฮัม – ข้าวเจ้านาปรัง

                  (นาหว่าน) พันธุ์ปทุมธานี  อยู่ในระดับปานกลาง (S2)

                                ข้ำวเจ้ำนำปี (นำด้ำ) พันธุ์อัลฮัม  ส้ารวจจ้านวน 3 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6I  18I

                  และ 25I  ผลผลิตเฉลี่ยระหว่าง 360 - 450 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ระหว่าง 4,165.20 - 5,206.50 บาทต่อไร่
                  ต้นทุนผันแปรระหว่าง 3,578.52 - 3,868.08 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปรระหว่าง 586.68 - 1,338.42 บาทต่อไร่

                  และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรระหว่าง 1.16  - 1.35  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสม

                  ทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์อัลฮัม อยู่ในระดับปานกลาง
                  (S2) ทั้ง 3 หน่วยที่ดิน

                                ข้ำวเจ้ำนำปี (นำด้ำ) พันธุ์เฉี ยงพัทลุง  ส้ารวจจ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 18I

                  ผลผลิตเฉลี่ย 428 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 5,829.36  บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,802.13 บาทต่อไร่ รายได้

                  เหนือต้นทุนผันแปร 2,027.23  บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.53
                  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า)

                  พันธุ์เฉี้ยงพัทลุง อยู่ในระดับปานกลาง (S2)

                                รายละเอียดผลการวิเคราะห์เพื่อประเมินความเหมาะสมของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  ด้านเศรษฐกิจของการผลิตพืชบริเวณลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง แสดงในตารางที่ 3-15 ถึงตารางที่ 3-18
                  และตารางผนวก ข

                             2)  การพิจารณาทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                               ส้าหรับทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจบริเวณ
                  ลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบังนั้น เนื่องจากบางหน่วยที่ดินเกษตรกรสามารถเลือกใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อผลิต

                  พืชได้หลายชนิด ดังนั้นเมื่อวิเคราะห์ตัวชี้วัด 4  ตัวแปร ได้แก่ รายได้ ต้นทุนผันแปรทั้งหมด รายได้

                  เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นน้าผลวิเคราะห์ตัวแปร
                  ดังกล่าวไปจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และอาจพิจารณาทางเลือก

                  จากระดับคุ้มทุนการผลิตได้อีกด้วย สรุปดังนี้











                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134