Page 127 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 127

3-59





                        3.2.2  การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ

                             การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ เป็นการวิเคราะห์สภาพการผลิตพืชแต่ละหน่วยที่ดิน

                  โดยพิจารณาจากการจัดการที่ดิน ปริมาณเงินลงทุนและรายได้เหนือต้นทุนผันแปรจากการใช้
                  ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์เป็นข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการส้ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม

                  ของเกษตรกร ปีการผลิต 2556/57 โดยกลุ่มวางแผนทรัพยากรน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน รวมกับข้อมูลที่มี
                  อยู่เดิมของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการประเมิน

                  คุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจน้าไปพิจารณาร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ข้อมูลของหน่วยราชการที่
                  เกี่ยวข้องตลอดจนผลการประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ เพื่อก้าหนดทางเลือกที่เหมาะสมของ

                  ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในแต่ละหน่วยที่ดิน แล้วน้าผลลัพธ์ที่ได้มาพิจารณาประกอบการวางแผน

                  การใช้ที่ดิน ผลการวิเคราะห์จ้าแนกตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง
                  ดังนี้

                             1) การประเมินต้นทุนและรายได้จากการผลิตพืช

                                เขตเกษตรน ้ำฝน ส้ารวจจ้านวน 7 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6 7 25 26 32 34 และ
                  45 ดังนี้

                                ข้ำวเจ้ำนำปี ส้ารวจจ้านวน 3 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6 7 และ 25 ดังนี้

                    -             ข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์อัลฮัม เกษตรกรปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6 7 และ 25 ผลผลิต

                  เฉลี่ยระหว่าง 291.67 - 415.50 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ระหว่าง 3,374.62 - 4,807.34 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร
                  ระหว่าง 3,175.26 - 3,855.28 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปรระหว่าง 199.36 และ 974.48 บาทต่อไร่

                  และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรระหว่าง 1.06 - 1.26 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ

                  ของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์อัลฮัม อยู่ในระดับเล็กน้อย (S3)

                  ทั้ง 3 หน่วยที่ดิน
                   -              ข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์เฉี้ยงพัทลุง เกษตรกรปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6 ผลผลิตเฉลี่ย

                  375 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 5,107.50 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,604.48 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  1,503.02 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.42 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสม
                  ทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์เฉี้ยงพัทลุง  อยู่ในระดับ

                  เล็กน้อย (S3)

                                ยำงพำรำ ส้ารวจจ้านวน 4 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 26 32 34 และ 45 พันธุ์ที่ปลูก
                  เป็นพันธุ์ RRIM 600 ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ลุ่มน้้าจะเก็บผลผลิตขายในรูปน้้ายางพารา โดย

                  จะค้านวณเป็นน้้าหนักเนื้อยางแห้ง ยางพาราเป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี การวิเคราะห์ครั้งนี้

                  ก้าหนดให้ยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ปี การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใช้มูลค่าปัจจุบันของ







                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132