Page 122 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 122

3-54





                                          มะพร้าว

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 32 34 34B

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26C 32B 34C

                  โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเสียหายจาก

                  การกัดกร่อน
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน คือ 5M 6M 7M

                  17M 18M 26D 26gm 34gm 53B 53C 59 59M โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                  สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช

                                          ปาล์มน้ ามัน

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 26C 32 34 34B

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 5M
                  6M 7M 17M 18M 26D 26gm 32B 34C 34gm 59 59M โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของ

                  ออกซิเจนต่อรากพืช ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเสียหายจาก

                  การกัดกร่อน ศักยภาพการใช้เครื่องจักร
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 53B 53C 53E


                  โดยมีข้อจ้ากัด คือ ศักยภาพการใช้เครื่องจักร สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                                          ยางพารา

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 26C 32 34 34B
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26D 32B 34C

                  53B 53C โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร สภาวะการหยั่งลึกของราก ศักยภาพการใช้

                  เครื่องจักร ความเสียหายจากการกัดกร่อน ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่  หน่วยที่ดิน 5M  6M  7M

                  17M 18M 25M 26gm 34gm 45 45B 45C 45D 45E 51 51B 51C 51D 51E  59 59M โดยมีข้อจ้ากัด คือ

                  ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช  สภาวะการหยั่งลึกของราก  ศักยภาพการใช้เครื่องจักร

                  ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                                   2)  เขตพื้นที่เกษตรชลประทาน จากการส้ารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                  คลองบ้าบัง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินหลายประเภท โดยส่วนใหญ่ท้าการปลูกพืชในพื้นที่ที่มีน้้าชลประทาน

                  คือ นาข้าว มะพร้าว ปาล์มน้้ามัน ยางพารา ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีชั้นดินที่มีความเหมาะสมแตกต่างกัน
                  ดังรายละเอียดต่อไปนี้








                                                                                                                                                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127