Page 52 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 52

3-4





                  หรือ ดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นพวกดินเหนียว สีดินเป็นสีน้้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์

                  ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรด-ด่างดินบนอยู่ระหว่าง

                  5.0-6.5  ค่าความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่้า และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต่้า
                  ค่าการน้าไฟฟ้าของดินต่้า ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ บริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง

                  มีอัตราเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินมากหากมีการจัดการดินไม่เหมาะสม ปัจจุบันบริเวณดังกล่าว

                  ใช้ปลูกยางพารา ปาล์มน้้ามัน กาแฟ ไม้ผลต่างๆ เช่น มังคุด เงาะ บางพื้นที่มีการปั้นคันนาเพื่อใช้ปลูกข้าว

                  แต่พื้นที่ปลูกมีเพียงเล็กน้อย บางแห่งยังคงสภาพป่าธรรมชาติ แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
                                     - หน่วยที่ดินที่ 26 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 23,559 ไร่

                  หรือร้อยละ 4.47 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                  หน่วยที่ดินที่ 26b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้นคันนา

                  เพื่อปลูกข้าว มีเนื้อที่ 431 ไร่ หรือร้อยละ 0.08 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    - หน่วยที่ดินที่ 26B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 15,550 ไร่

                  หรือร้อยละ 2.95 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 26C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 1,513 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.29 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 26D สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 670 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.13 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                - หน่วยที่ดินที่ 26E สภาพพื้นที่เป็นเนินเขา มีเนื้อที่ 324 ไร่ หรือร้อยละ 0.06

                  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 26gm เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า  สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 27,140 ไร่ หรือร้อยละ 5.15 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 26gmb เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า  สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 4,229 ไร่ หรือร้อยละ 0.80 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (2)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนหรือดินทรายแป้งละเอียด เกิดจากการทับถมของตะกอน

                  ล้าน้้าบริเวณสันดินริมน้้า บนพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ เป็นกลุ่มดินลึกที่มี

                  การระบายน้้าดี เนื้อดินเป็นพวกดินร่วน หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง บางแห่งอาจมีชั้นดินทราย
                  ละเอียดสลับชั้นอยู่และมักมีแร่ไมก้าปะปนในเนื้อดิน สีดินเป็นสีน้้าตาลหรือสีเหลืองปนน้้าตาล ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีค่าความเป็น

                  กรด-ด่างดินบนอยู่ระหว่าง 4.5-6.0  ค่าความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลาง และความอิ่มตัว







                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57