Page 56 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 56

3-8





                                - หน่วยที่ดินที่ 51E สภาพพื้นที่เป็นเนินเขา มีเนื้อที่ 6,880 ไร่ หรือร้อยละ 1.31

                  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (7)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับ
                  ที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของวัตถุต้นก้าเนิดดินที่มาจากหินเนื้อละเอียด บนบริเวณ

                  พื้นที่ดอน ที่เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นกลุ่มดินลึกปานกลาง มีการระบายน้้าดี

                  เนื้อดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนดินเหนียว ส่วนดินล่างในระดับความลึกระหว่าง 50-100 เซนติเมตร

                  เป็นดินลูกรังหรือดินปนเศษหินผุ ซึ่งเป็นพวกหินดินดาน สีดินเป็นสีน้้าตาลอ่อน สีเหลืองหรือสีแดง
                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด มีค่าความเป็นกรด

                  เป็นด่างประมาณ 5.0-5.5 ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินชั้นล่างมีลูกรังหรือเศษหิน

                  ปะปนอยู่เป็นปริมาณมากท้าให้การปลูกพืชรากลึกอาจมีปัญหาและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า

                  บริเวณที่มีความลาดชันสูงอาจเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้
                  ปลูกไม้ยืนต้น และไม้ผล แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                    -  หน่วยที่ดินที่ 53B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 3,834 ไร่

                  หรือร้อยละ 0.73 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                - หน่วยที่ดินที่ 53C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 1,139 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.22 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (8)   หน่วยที่ดินที่ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35
                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการส้ารวจและจ้าแนกดิน ควรอนุรักษ์ไว้เป็นแหล่งต้นน้้าล้าธาร ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 62

                  (SC : พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน) มีเนื้อที่ 311,437 ไร่ หรือร้อยละ 59.08 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา


                             3)  หน่วยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้
                            (1)   พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้า (AQ) มีเนื้อที่ 84 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (2)   บ่อขุด (P) มีเนื้อที่ 95 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                            (3)   พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 11,615 ไร่ หรือร้อยละ 2.20 ของพื้นที่
                  ลุ่มน้้าสาขา

                                (4)   พื้นที่น้้า (W) มีเนื้อที่ 3,688 ไร่ หรือร้อยละ 0.70 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา


















                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61