Page 187 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 187

4-16





                  ที่เหมาะสมต่อการท้าการเกษตรที่ประกอบด้วย ที่อยู่อาศัย/ย่านการค้า สถานที่ราชการและสถาบันต่างๆ

                  โรงงานอุตสาหกรรม สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และถนน


                        แนวทางการพัฒนา
                           1. องค์การบริหารส่วนต้าบลในแต่ละพื้นที่บริเวณลุ่มน้้าสาขานี้ควรเร่งศึกษาปัญหาความต้องการ

                  ของท้องถิ่นและจัดล้าดับความส้าคัญของปัญหาเพื่อก้าหนดแนวทางในการพัฒนาได้อย่างถูกต้อง

                  ตามความต้องการของชุมชนในแต่ละท้องถิ่นนั้นๆ ในประเด็นปัญหาบางเรื่องที่เกินขีดความสามารถของท้องถิ่น

                  ทางองค์การบริหารส่วนต้าบลควรท้าเรื่องถึงส่วนราชการที่เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อรองรับการสนับสนุน
                  ในการศึกษาปัญหา แนวทางการแก้ไข จัดท้าโครงการและงบประมาณเพื่อการด้าเนินการต่อไป

                           2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้มงวดเรื่องการใช้ถนน และน้ากฎหมายการใช้รถใช้ถนนมาบังคับใช้

                  อย่างเข้มงวดในด้านการบรรทุกเกินน้้าหนัก ควรดูแลซ่อมแซมผิวถนนให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดีอยู่เสมอ
                  และควรสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงบ้ารุงผิวถนน ในกรณีที่เป็นถนนลูกรัง หรือถนนดิน

                  ควรปรับเปลี่ยน ให้เป็นลาดยาง หรือ คอนกรีต เพื่อลดปัญหาเรื่องฝุ่น ซึ่งเป็นมลภาวะทางอากาศ

                  ต่อชุมชนชนบท
                        4.  เขตแหล่งน้ า (หน่วยแผนที่ 4)

                        มีพื้นที่ 106,097 ไร่ หรือร้อยละ 8.25 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เป็นพื้นที่แหล่งน้้าตามธรรมชาติ

                  ได้แก่ ล้าคลอง ห้วย หนอง บึง และแหล่งน้้าผิวดินที่สร้างขึ้น

                        แนวทางการพัฒนา
                           1.  ควรเร่งด้าเนินการศึกษาแนวทางในการพัฒนาแหล่งน้้าผิวดินเพิ่มเติม แต่ต้องค้านึงถึง

                  ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นส้าคัญ

                           2.  ควรมีการบ้ารุงรักษาและขุดลอกแหล่งน้้าตามธรรมชาติที่มีอยู่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

                  ของการกักเก็บน้้า
                        5.  เขตพื้นที่ชุ่มน้ า (หน่วยแผนที่ 5)

                        มีพื้นที่ 1,480 ไร่ หรือร้อยละ 0.12 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เป็นพื้นที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนตาม

                  รายชื่อพื้นที่ชุ่มน้้าที่มีความส้าคัญระดับท้องถิ่น ถือว่าเป็นพื้นที่ส้าคัญที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ
                  ชาวบ้านสามารถใช้ด้ารงชีวิตตามวิถีชาวบ้าน รวมถึงเป็นพื้นที่กักเก็บน้้าที่ส้าคัญในช่วงฤดูน้้าหลาก

                           แนวทางการพัฒนา

                        1.  ส่งเสริมและให้ความรู้แก่ชุมชนให้เห็นถึงคุณค่าและความส้าคัญของพื้นที่ชุ่มน้้า
                           2.  หน่วยงานราชการควรปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2543 ในส่วนของ

                  มาตรการอนุรักษ์พื้นที่ที่มีความส้าคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ ซึ่งได้ทบทวนและประกาศให้







                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192