Page 186 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 186

4-15





                            2.3.4  เขตทุ่งหญ้า (หน่วยแผนที่ 235)

                                มีพื้นที่ 10,746 ไร่ หรือร้อยละ 1.09 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา สภาพพื้นที่มีลักษณะ

                  ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึกปานกลางถึงดินลึก การระบายน้้าดี มีความเหมาะสม
                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีข้อจ้ากัดเรื่อง ปริมาณน้้าฝน ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า เนื่องจาก

                  เกษตรกรท้าการปลูกพืชไร่ต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน

                             2.4   เขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า (หน่วยแผนที่ 25)

                                  มีพื้นที่ 43,447 ไร่ หรือร้อยละ 3.38  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา  ประกอบด้วยสถานที่

                  เพาะเลี้ยงกุ้ง และ สถานที่เพาะเลี้ยงปูและหอย
                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงสัตว์น้้าควบคู่ไปกับการปฏิบัติตามแนวทางพระราชด้าริ                                               3-44

                  “ทฤษฎีใหม่”
                                  2.  ส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงสัตว์น้้าให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและเป็นการพัฒนา

                  อย่างยั่งยืนตามหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง

                          2.5   เขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอกเขตป่าตามกฎหมาย (หน่วยแผนที่ 26)

                                  มีพื้นที่รวม 56,561 ไร่ หรือร้อยละ 4.40  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา  เป็นพื้นที่ที่มีสภาพป่า
                  แต่อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าตามกฎหมายบริเวณป่าที่มีมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการก้าหนด

                  ชั้นคุณภาพลุ่มน้้า ครอบคลุมเขตชั้นคุณภาพลุ่มน้้าชั้นที่ 1 ชั้นที่ 2 และบริเวณป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี

                  ประกอบด้วย เขตป่าสมบูรณ์ (หน่วยแผนที่ 261) ซึ่งมีพื้นที่ 45,540 ไร่ หรือร้อยละ 3.78  ของพื้นที่ลุ่มน้้า
                  สาขา และเขตฟื้นฟูป่าไม้ (หน่วยแผนที่ 262) ซึ่งมีพื้นที่ 11,021 ไร่ หรือร้อยละ 0.86 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                   แนวทางการพัฒนา

                                  1.  เสนอให้ชุมชนจัดตั้งเป็น “ป่าชุมชน” ตามแนวทางของกรมป่าไม้เพื่อสร้าง

                  ความเข้าใจในการจัดตั้งป่าชุมชน
                                  2.  ส่งเสริมให้ชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงความส้าคัญของการอนุรักษ์พื้นที่และ

                  มีการก้าหนดแนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์พื้นที่

                              3.  ส่งเสริมให้ชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงความส้าคัญของป่าชุมชน
                              4.  ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่โดยไม่เข้าไปบุกรุกป่าเพิ่มเติม เช่น

                  การป้องกันไฟป่า การปลูกป่า หรือ ปลูกฝังประเพณีบวชป่าโดยมีภาคเหนือเป็นต้นแบบ

                        3.  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (หน่วยแผนที่ 3)
                           มีพื้นที่ 36,335  ไร่ หรือร้อยละ 2.83 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เป็นที่ตั้งของชุมชนซึ่งมีทิศทาง

                  ในการพัฒนาและขยายตัวไม่มีกรอบที่เด่นชัด เป็นผลให้เกิดการขยายความเจริญของชุมชนเมืองในพื้นที่





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191