Page 192 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 192

4-21





                  4.2  ปัญหาและอุปสรรค

                        4.2.1 ความไม่พร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะใช้ในการท้างาน เพราะว่าอุปกรณ์หรือ

                  เครื่องมือบางชนิดใช้มานานและมีราคาสูง และยังรวมถึงยานพาหนะที่จะเข้าไปในพื้นที่ด้วย

                  เพราะยานพาหนะจะต้องมีสภาพที่พร้อมในการบุกเบิกเข้าพื้นที่ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นที่สูง หรือที่หุบเขา
                  และที่ๆ มีสภาพภูมิอากาศไม่เอื้ออ้านวยต่อการปฏิบัติงาน

                        4.2.2 ความไม่พร้อมของอัตราก้าลังของเจ้าหน้าที่ เนื่องจากบุคลากรด้านนี้ไม่มีผู้ช่วยท้างาน

                  ส้ารวจ วางแผนการใช้ที่ดิน และยังมีอยู่น้อยมาก รวมไปถึงมหาวิทยาลัยต่างๆ ไม่สามารถผลิต
                  บุคลากรที่มีความรู้ความช้านาญได้ทันตามความต้องการในการด้าเนินงาน  เนื่องจากงานส้ารวจและ

                  จ้าแนกดิน จ้าเป็นต้องมีความรู้หลายด้าน

                        4.2.3 สภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นภูเขา เพราะก่อนที่จะเดินทาง                                                  3-44

                  ไปท้างานมีระยะทางไกล และต้องมีการศึกษาเส้นทางให้อย่างดี เพื่อที่จะประหยัดค่าใช้จ่ายต่างๆ
                  ให้มากที่สุด

                        4.2.4 เส้นทางคมนาคมยังไม่สะดวก กอปรกับพื้นที่มีความลาดชัน เส้นทางคดโค้ง เป็นอันตราย

                  อย่างมากในการเดินทางในการปฏิบัติงาน บางครั้งทัศนวิสัยไม่ดี หรือฝนตก หรือมีหมอกควัน
                        4.2.5 แรงงานในปัจจุบันการหาแรงงานได้ยากมาก เนื่องจากบางช่วงเป็นฤดูการผลิตหรือเก็บเกี่ยว

                  และวัยของแรงงานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ เพราะแรงงานเป็นตัวส้าคัญที่จะได้ข้อมูลมาท้าการศึกษา

                  ถ้าขาดไปจะท้าให้ผลงานที่ได้ช้า ไม่ทันก้าหนดเวลาที่วางไว้ได้ เพราะบุคลากรแต่ละคนที่ออกพื้นที่มี
                  หน้าที่ที่ต้องท้าหลายอย่าง และมีข้อจ้ากัดในการท้างาน

                  4.3  สรุปและข้อเสนอแนะ

                        4.3.1  สรุป

                             ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง (2513) มีพื้นที่ 2,056 ตารางกิโลเมตร หรือ
                  1,285,312 ไร่ มีสภาพภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูงชัน สูงจากระดับน้้าทะเลปานกลาง 7-630 เมตร

                  โดยมีพื้นที่สูงและเทือกเขาทอดเป็นแนวทิศเหนือ-ใต้ ทิศตะวันตกเป็นพื้นที่ราบและพื้นที่ป่าเลนน้้าเค็ม

                  ทางด้านทิศตะวันออกซึ่งเป็นแหล่งของต้นน้้าล้าธาร ที่ส้าคัญมีแม่น้้าสายสั้นๆ ไหลลงทะเลอันดามัน

                  สภาพโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นเนินเขา บริเวณที่ดอน มีดินร่วน
                  หรือดินร่วนปนเหนียว ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล ส่วนพื้นที่ราบเป็นน้้าพัดพา

                  มีบริเวณไม่มากนัก เหมาะกับการท้านา ปัญหาของดินที่พบในลุ่มน้้าเกิดจากความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า

                  และพบดินตื้นที่มีชั้นของก้อนหินหรือเศษลูกรังปน ท้าให้มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช
                  และพบปัญหาการชะล้างพังทลายเนื่องจาก สภาพพื้นที่สูงชัน และมีการใช้ที่ดินไม่สอดคล้องกับ

                  สมรรถนะที่ดิน





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197