Page 182 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 182

4-11





                                  5.  พื้นที่ลาดชันควรส่งเสริมให้มีการจัดอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่


                          2.2   เขตเกษตรก้าวหน้า (หน่วยแผนที่ 22)

                                  มีพื้นที่ 214,788 ไร่ หรือร้อยละ 16.71 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เขตนี้เกษตรกรท้าการเกษตร
                  โดยอาศัยน้้าฝนเป็นหลัก ดินมีศักยภาพในการผลิตปานกลางถึงสูง พื้นที่ส่วนใหญ่ท้านาครั้งเดียว

                  หรือหากปลูกไม้ยืนต้นก็ควรปลูกยางพาราและปาล์มน้้ามัน เป็นหลัก ปัญหาหลักที่พบในเขตนี้ได้แก่

                  ปัญหาเรื่องปริมาณน้้าที่มากเกินไปในช่วงฤดูฝนและดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง สามารถแบ่งเขต

                  การใช้ที่ดินเพื่อการผลิตได้ 3 เขต ดังนี้
                                   2.2.1  เขตท านา (หน่วยแผนที่ 221)

                                         มีพื้นที่ 17,957 ไร่ หรือร้อยละ 1.40 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ดินมีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง                                                                                                                             3-44
                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดการน้้าควรพิจารณาแหล่งน้้าขนาดเล็กใน

                  พื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ให้สามารถกักเก็บน้้าได้ดีขึ้น
                                  2.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยใช้ปุ๋ย

                  วิทยาศาสตร์ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน

                                  3.  ส่งเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยให้ความรู้เรื่องเกษตร

                  ผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยการขุดบ่อเลี้ยงปลา ยกร่องปลูกผัก ไม้ผลยืนต้น
                  ร่วมกัน

                                  4.  ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเพื่อผลักดันให้ชุมชนมีโรงสีข้าวเป็น

                  ของกลุ่มและสร้างอ้านาจต่อรองทางการตลาด

                                   2.2.2  เขตปลูกไม้ผล (หน่วยแผนที่ 223)
                                  มีพื้นที่ 7,672 ไร่ หรือร้อยละ 0.60 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา พืชที่ปลูกได้แก่

                  ทุเรียน เงาะ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึกปานกลางถึงดินลึก มีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีข้อจ้ากัดเรื่องความอุดมสมบูรณ์ในดินมักพบอยู่บริเวณริมน้้า สามารถ
                  สูบน้้าขึ้นมาใช้ในช่วงฤดูแล้งได้

                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.   ส่งเสริมให้มีการขยายเขตโครงการชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม
                                  2.   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดการน้้าควรพิจารณาแหล่งน้้าขนาดเล็ก

                  ในพื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ให้สามารถกักเก็บน้้า

                  ได้ดีขึ้น




                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187