Page 181 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 181

4-10





                                แนวทางการพัฒนา

                                1.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดการน้้าควรพิจารณาแหล่งน้้าขนาดเล็กในพื้นที่

                  รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝายให้สามารถกักเก็บน้้าได้ดีขึ้น

                                2.  ปริมาณน้้าใต้ดินที่พบในลุ่มน้้า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถพัฒนาแหล่งน้้าใต้ดิน
                  เพื่อให้เกษตรกรสามารถน้ามาใช้ในช่วงฤดูแล้งได้

                                3.  ควรส่งเสริมให้ค้าแนะน้าแก่เกษตรกร ปลูกพืชในช่วงเวลาที่มีความชื้น

                  เหมาะสม
                                4.  วางแผนและส่งเสริมให้เกษตรกรที่ปลูกพืชไร่ ด้าเนินงานตามกรอบเอกสาร

                  วิชาการ เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจอ้อย มันส้าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเหลือง เพื่อมุ่งเน้น

                  ให้เกิดการใช้พื้นที่ตามศักยภาพ

                                5.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์
                  ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน

                                      6.  ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และสร้างอ้านาจต่อรอง

                  ทางการตลาด
                                   2.1.3  เขตปลูกไม้ยืนต้น (หน่วยแผนที่ 214)

                                         มีพื้นที่ 5,965 ไร่ หรือร้อยละ 0.46 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา อยู่ในเขตชลประทาน

                  ดินมีการระบายน้้าดี มีความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติค่อนข้างต่้าถึงต่้า ปัจจุบันนิยมปลูกยางพาราและ
                  ปาล์มน้้ามันกันเป็นจ้านวนมาก

                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรปรับปรุงระบบการส่งน้้าจากโครงการชลประทานที่มีอยู่ให้มี

                  ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสามารถกระจายการส่งน้้าให้ครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม
                                  2.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพัฒนาแหล่งน้้าขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึง

                  ปรับปรุงประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ให้สามารถกักเก็บน้้าส้ารองไว้ใช้

                  ในช่วงที่น้้าชลประทานไม่เพียงพอ

                                         3.  หน่วยงานของรัฐต้องเร่งให้การสนับสนุนทั้งเงินลงทุน และทางวิชาการ
                  แก่เกษตรกรในพื้นที่เขตนี้อย่างจริงจังเพราะเป็นพื้นที่ที่ทรัพยากรที่ดินมีข้อจ้ากัดต่อการเกษตรกรรม

                  ค่อนข้างสูง แต่เกษตรกรในพื้นที่มีความยากจน และไม่สามารถเปลี่ยนการประกอบอาชีพเป็นอย่างอื่นได้

                                  4.  ปรับปรุงโครงสร้างของดิน โดยการใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก
                  ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอุ้มน้้าของดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืช โดยมีการใช้ปุ๋ย

                  วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับชนิดพืช ทั้งเรื่องสูตรปุ๋ย จ้านวนและช่วงระยะที่ใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม





                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186