Page 148 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 148

3-72





                  ตัวแปรดังกล่าวไปจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และอาจพิจารณา

                  ทางเลือกจากระดับคุ้มทุนการผลิตได้อีกด้วย สรุปดังนี้

                                (1)  การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเดียวกันในหน่วยที่ดินต่างกัน

                                    เขตเกษตรน ้ำฝน

                                    ข้ำวนำปี ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 5  6  และ 25  พบว่า  ในหน่วยที่ดินที่ 5 มีระดับ
                  ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) และในหน่วยที่ดินที่ 6 และ 25 มีระดับความ

                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับเล็กน้อย (S3) แต่ในหน่วยที่ดินที่ 5 และ 6 ปลูกข้าวพันธุ์เล็บนกปัตตานี

                  มีแนวโน้มว่าจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดิน
                  ที่ 6 และ25 ที่ปลูกข้าวพันธุ์อัลฮัม และพันธุ์เฉี้ยงพัทลุง

                                    ยำงพำรำ ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26 32 34 45B และ 53B พบว่า ในหน่วยที่ดินที่ 26

                  32  34  45B และ 53B  มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) เช่นเดียวกัน

                  แต่ในหน่วยที่ดินที่ 32 และ 45B มีแนวโน้มว่าจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้
                  ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 26 34 และ 53B

                                    ปำล์มน ้ำมัน  ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26  34 และ 45B พบว่า ในหน่วยที่ดินที่ 26 และ 34

                  มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับสูง (S1)  เช่นเดียวกัน และในหน่วยที่ดินที่ 45B    มี

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) แต่ในหน่วยที่ดินที่ 26 และ 34 มีแนวโน้ม
                  ว่าจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 45B

                                (2)  การใช้ประโยชน์ที่ดินต่างประเภทกันในหน่วยที่ดินเดียวกัน

                                    เขตเกษตรน ้ำฝน

                                    หน่วยที่ดินที่ 26    เกษตรกรปลูกยางพารา และปาล์มน้้ามัน มีระดับความ
                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) และระดับสูง (S1) ตามล้าดับ ดังนั้นควรแนะน้าให้

                  เกษตรกรเลือกปลูกปาล์มน้้ามัน เนื่องจากจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกยางพารา

                                    หน่วยที่ดินที่ 34    เกษตรกรปลูกยางพารา และปาล์มน้้ามัน มีระดับความ
                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) และระดับสูง (S1) ตามล้าดับ ดังนั้นควรแนะน้าให้

                  เกษตรกรเลือกปลูกปาล์มน้้ามัน เนื่องจากจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกยางพารา












                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153