Page 147 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 147

3-71





                  6,342.30 และ 6,997.90  บาทต่อไร่ ตามล้าดับ  และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 2.12

                  และ 2.21 ตามล้าดับ จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูก

                  ปาล์มน้้ามัน อยู่ในระดับสูง (S1) ทั้ง 2 หน่วยที่ดิน ส้าหรับหน่วยที่ดินที่ 45B ผลผลิตเฉลี่ย 3,666.84 กิโลกรัมต่อไร่
                  รายได้ 10,146.51 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 5,602.18 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 4,544.33 บาทต่อไร่

                  และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.81 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ

                  ของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกปาล์มน้้ามัน อยู่ในระดับปานกลาง (S2)

                                มะพร้ำว ส้ารวจจ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 43 พันธุ์ที่ปลูกเป็นพันธุ์ต้นสูง

                  เป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี การวิเคราะห์ครั้งนี้ก้าหนดให้มะพร้าวมีรอบอายุการผลิต 35 ปี
                  การพิจารณาผลตอบแทนการผลิตมะพร้าว จึงใช้มูลค่าปัจจุบันของรายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  ทั้งหมด (NPV) อัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปร (B/C Ratio) ตลอดจนน้าต้นทุนผันแปร

                  และรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมาพิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์พบว่าการปลูกมะพร้าว
                  ในหน่วยที่ดินที่ 43 ผลผลิตเฉลี่ย 1,135.14 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 4,050.32 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร

                  1,868.10  บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 2,182.22  บาทต่อไร่  และอัตราส่วนของรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรเท่ากับ 2.17  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  เพื่อการปลูกมะพร้าวอยู่ในระดับปานกลาง (S2)

                                เขตชลประทำน  ส้ารวจจ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6I ดังนี้

                                ข้ำวเจ้ำนำปี (นำด้ำ) พันธุ์อัลฮัม ส้ารวจจ้านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6I

                  ผลผลิตเฉลี่ย  450  กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 5,206.50  บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,868.08 บาทต่อไร่ รายได้

                  เหนือต้นทุนผันแปร 1,338.42  บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.35
                  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า)

                  พันธุ์อัลฮัม อยู่ในระดับปานกลาง (S2)

                                รายละเอียดผลการวิเคราะห์เพื่อประเมินความเหมาะสมของประเภทการใช้ประโยชน์
                  ที่ดินด้านเศรษฐกิจของการผลิตพืชบริเวณลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง แสดงในตารางที่ 3-17

                  ถึงตารางที่ 3-20 และตารางผนวก ข

                             2)  การพิจารณาทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                               ส้าหรับทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจบริเวณ

                  ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่างนั้น เนื่องจากบางหน่วยที่ดินเกษตรกรสามารถเลือกใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  เพื่อผลิตพืชได้หลายชนิด ดังนั้น เมื่อวิเคราะห์ตัวชี้วัด 4  ตัวแปร ได้แก่ รายได้ ต้นทุนผันแปรทั้งหมด
                  รายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นน้าผลวิเคราะห์







                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152