Page 146 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 146

3-70





                                - ข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์อัลฮัม ปลูกในหน่วยที่ดินที่  6 และ 25 ผลผลิตเฉลี่ย

                  415.50  และ 291.67  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้ 4,807.34 และ 3,374.62  บาทต่อไร่ ตามล้าดับ

                  ต้นทุนผันแปร 3,855.28 และ 3,175.26 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 952.06 และ
                  199.36  บาทต่อไร่ ตามล้าดับ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ  1.25  และ 1.06

                  ตามล้าดับ จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี

                  (นาด้า) พันธุ์อัลฮัม อยู่ในระดับเล็กน้อย (S3) ทั้ง 2 หน่วยที่ดิน

                                - ข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์เฉี้ยงพัทลุง ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6 ผลผลิตเฉลี่ย
                  375 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ 5,107.50 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,604.48 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  1,503.02 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.42 จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสม

                  ทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์เฉี้ยงพัทลุง  อยู่ในระดับ

                  เล็กน้อย (S3)
                                ยำงพำรำ ส้ารวจจ้านวน 6  หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 26  32  34  45B  และ 53B

                  พันธุ์ที่ปลูกเป็นพันธุ์ RRIM 600 ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ลุ่มน้้าจะเก็บผลผลิตขายในรูปน้้ายางพารา

                  โดยจะค้านวณเป็นน้้าหนักเนื้อยางแห้ง  ยางพาราเป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี การวิเคราะห์
                  ครั้งนี้ก้าหนดให้ยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ปี การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใช้มูลค่า

                  ปัจจุบันของรายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราส่วนของผลได้ต่อต้นทุนผันแปร (B/C Ratio)

                  ตลอดจนน้าต้นทุนผันแปรและรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมาพิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์
                  พบว่าการปลูกยางพารา ในหน่วยที่ดินที่ 26 32 34  45B และ 53B ผลผลิตเฉลี่ยระหว่าง 229.37 – 266.80 กิโลกรัมต่อไร่

                  รายได้ระหว่าง 9,441.08 – 10,674.69 บาทต่อไร่  ต้นทุนผันแปรระหว่าง 5,804.10 – 6,505.21 บาทต่อไร่

                  รายได้เหนือต้นทุนผันแปรระหว่าง 3,203.21  –  4,327.56  บาทต่อไร่  และอัตราส่วนของรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรระหว่าง 1.50  –  1.68  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา อยู่ในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 5 หน่วยที่ดิน

                                ปำล์มน ้ำมัน  ส้ารวจจ้านวน 3 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 26  34 และ 45B พันธุ์ที่

                  ปลูกเป็นพันธุ์ลูกผสมเทเนอรา และสุราษฎร์ธานี-2 ปาล์มน้้ามันเป็นไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิตเกินกว่า 1 ปี

                  การวิเคราะห์ครั้งนี้ก้าหนดให้ปาล์มน้้ามันมีรอบอายุการผลิต 20 ปี การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต
                  ปาล์มน้้ามัน จึงใช้มูลค่าปัจจุบันของรายได้เหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด (NPV)  อัตราส่วนของผลได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปร (B/C  Ratio)  ตลอดจนน้าต้นทุนผันแปรและรายได้ที่ค้านวณเป็นค่าปัจจุบันมา

                  พิจารณาร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์พบว่าการปลูกปาล์มน้้ามัน ในหน่วยที่ดินที่ 26  และ 34 ผลผลิต
                  เฉลี่ย 4,237.40  และ 4,355.86  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้ 12,027.92 และ  12,794.76 บาทต่อไร่

                  ตามล้าดับ  ต้นทุนผันแปร 5,685.62  และ  5,796.86  บาทต่อไร่ ตามล้าดับ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร






                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151