Page 123 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 123

3-47





                  ที่ได้อยู่ในเกณฑ์ 2-10 ล้านลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางธรณีวิทยา คุณภาพน้้าอยู่ใน

                  เกณฑ์ดี

                                    (7)  ชั้นน้ าหินชั้นกึ่งแปรยุคเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอรัส (PCms) ประกอบไปด้วย

                  หินทราย หินดินดาน หินเชิร์ต หินปูน หินชนวน หินโคลน หินควอร์ตไซต์ และหินฟิลไลต์   น้้าบาดาล
                  จะถูกกักเก็บอยู่ภายในช่องว่างตามรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และรอยต่อระหว่างชั้นหิน ความลึกถึง

                  ชั้นน้้าบาดาลโดยเฉลี่ยอยู่ในช่วง 12 – 30 เมตร โดยทั่วไปให้น้้าได้ในเกณฑ์น้อยกว่า 2 ล้านลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง

                                    (8) ชั้นหินปูนชุดออร์โดวิเชียน (Ordovicion Limestone Aquifer:Ols) เป็น

                  หินปูนชั้นบางๆ สีเทาถึงเทาด้า เนื้อหินมีการตกผนึกใหม่ (Recrystallized) มีเนื้อดินปน และมี
                  หินดินดานแทรกสลับอยู่ในช่วงล่างน้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายใต้รอยแตก รอยเลื่อน รอยต่อระหว่างชั้นหินและ

                  โพรงหรือถ้้าในชั้นหินความลึกถึงชั้นน้้าบาดาล โดยเฉลี่ยอยู่ในช่วง 30-70 เมตร ให้น้้าน้อยไม่เกิน

                   2 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                    (9)  ชั้นหินอุ้มน้ าหินแปร  (Silurian-Devonian  Meta-sediments  Aquifer:SDms)

                  ประกอบด้วยหินชั้นกึ่งแปร ได้แก่ หินทราย หินทรายแปง หินดินดานและหินโคลน น้้าบาดาลได้จาก

                  รอยแยกรอยแตก และรอยต่อระหว่างชั้นหิน ความลึกเฉลี่ยถึงชั้นน้้าบาดาลประมาณ 6-50 เมตร ให้น้้า
                  ในเกณฑ์เฉลี่ย 0-2 ล้านลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง

                                    (10) หินแปรยุคไซลูเรียน ดีโวเนียน (Silurian–Devonian Metamorphic Rocks

                  :  SDmm) หรือหน่วยหินบ้านโต (Ban  To  Formation)  ซึ่งเป็นหน่วยหินล่างสุดของหินชุดตะนาวศรี

                  (Tanaosri Group) มีอายุอยู่ในช่วง 438 – 360 ล้านปี ประกอบไปด้วยหินควอร์ตไซต์  หินควอร์ซ – ชีสต์
                  (Quartz  –  schist)    หินฟิลไลต์ หินชีสต์กึ่งฟิลไลต์ และหินไมกาชีสต์ แผ่กระจายตัวเป็นแนวยาวในแนว

                  เหนือ-ใต้ เริ่มตั้งแต่พื้นที่ทางด้านทิศใต้ของอ้าเภอรามัน พาดผ่านพื้นที่  ด้านตะวันออกของอ้าเภอ

                  บันนังสตา ไปทางทิศใต้ผ่านพื้นที่ด้านตะวันออกของ อ้าเภอเบตงไปจนจรดพรมแดนไทย – มาเลเชีย

                                    (11)  ชั้นหินอุ้มน้ าหินชั้นกึ่งหินแปรยุคแคมเบรียน  (CambrianMeta-
                  sedimentary Aquifer : Ems)  ชั้นหินให้น้้าประกอบไปด้วย หินทราย หินทรายแป้ง บางบริเวณถูก

                  ขบวนการแปรสภาพสัมผัสเปลี่ยนไปเป็นหินควอร์ตไซต์ และหินฟิลไลต์ พบเป็นหินโผล่ที่ต้าบลเขาพระ

                  อ้าเภอรัตภูมิ น้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายในรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และบริเวณที่หินผุ
                                    (12) ชั้นหินอุ้มน้ าหินแกรนิต (Granitic  Aquifers  :  Gr) ประกอบด้วย หินอัคนี

                  แทรกซอนชนิดฮอร์นเบลนด์แกรนิต หินมัสโคไวต์และไบโอไทต์แกรนิตเป็นหินเนื้อแน่นได้น้้า

                  2 – 4 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง จากแนวรอยแตกที่ความลึก 30 เมตร








                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128