Page 121 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 121

3-45





                  เลี้ยงสัตว์ เพื่อเกษตรกรได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ถ้าเป็นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ควรด้าเนินการตามความ

                  เหมาะสม เช่น ปลูกป่าทดแทน หรือจัดเป็นพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                                ล้าดับความส้าคัญในการฟื้นฟูลุ่มน้้า ถ้าเข้าด้าเนินการฟื้นฟูเป็นรายลุ่มน้้าย่อยในลุ่มน้้า
                  สาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่างโดยพิจารณาจากผลกระทบที่ประชากรในพื้นที่ลุ่มน้้าย่อยนั้น จะ

                  ได้รับเป็นหลักว่าโอกาสจะได้รับความเสียหายจากการเกิดการชะล้างพังทลายของดินมากน้อยเพียงไร
                  ประกอบกับคุณภาพของที่ดินดีหรือไม่ มีที่รกร้างว่างเปล่ามากน้อยเพียงไร พื้นที่ลุ่มน้้าย่อยที่มีโอกาสเกิด

                  การชะล้างพังทลายของดินสูง คุณภาพของดินไม่ดี และมีที่รกร้างว่างเปล่าที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์
                  จ้านวนมาก พื้นที่ลุ่มน้้าที่มีลักษณะดังกล่าว จะเป็นลุ่มน้้าล้าดับต้นๆ ที่ควรเข้าไปด้าเนินการฟื้นฟูก่อน


                        3.1.2  ทรัพยากรน้ า

                             3.1.2.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                    ลักษณะทางกายภาพของลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่างมีรูปร่างเป็น

                  สี่เหลี่ยมมีค่าสัมประสิทธิ์ความหนาแน่น Compactness coefficient (Kc) เท่ากับ 3.3 และมีค่า Form Factor

                  (FF) เท่ากับ 0.21 ดังแสดงในตารางที่ 3-8 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยู่บริเวณในเขตต้าบลลิพัง
                  อ้าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง มีความสูง 637 เมตรจากระดับน้้าทะเลปานกลาง จุดต่้าสุดของพื้นที่ลุ่มน้้า

                  บริเวณพื้นที่ต้าบลคลองขุด อ้าเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล โดยทั่วไปของลุ่มน้้าเป็นพื้นที่ลุ่มรูปแบบ

                  ของล้าน้้าเป็นแบบ Dendritic  pattern มีลักษณะเป็นล้าธารแตกกิ่งก้านสาขาคล้ายเส้นใบของใบไม้มี

                  ทิศทางไม่แน่นอน

                  ตารางที่ 3-8  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้ าภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง


                    ความยาวเส้น   พื้นที่  ความ     ความ                Compactness   Drainage   ความ
                                                              Form
                   ล้อมรอบลุ่มน้ า  ลุ่มน้ า  ยาวเฉลี่ย  กว้าง  Factor (FF)   coefficient   density    ลาดชัน
                                     2
                       (km)       (km )    (km)     เฉลี่ย                 (Kc)      กม./ตร.กม.   ของ
                       536        2,056     100     (km)       0.21         3.3         2.0       พื้นที่
                                                     60
                                                                                                  10.6
                  หมายเหตุ : Drainage density    < 1 แสดงว่ามีการระบายน้้าเลว
                                                 1-5 แสดงว่ามีการระบายน้้าดีปานกลาง
                         :  Compactness coefficient   1 แสดงว่าเป็นพื้นที่ลุ่มน้้าไม่ใช่ลักษณะวงกลม

                            Form Factor          < 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม
                            Form Factor          > 1 แสดงว่าพื้นที่ลุ่มน้้ามีลักษณะคล้ายรูปพัด
                  ที่มา : จากการค้านวณ









                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126