Page 122 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 122

3-46





                             3.1.2.2  น้ าใต้ดิน

                                    ก)   แหล่งน้ าใต้ดิน จากข้อมูลธรณีสัณฐานมาตราส่วน 1:1,000,000 กรม

                  ทรัพยากรธรณี (2556) น้ามาวิเคราะห์ชั้นน้้าที่พบในลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง รายละเอียด

                  ดังนี้

                                       (1) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนน้ าพา (Floodplain  Deposits  Aquifers  :  Qfd)
                  ประกอบด้วยกรวดทรายทรายแป้งและดินเหนียวโดยชั้นน้้าบาดาลจะเก็บอยู่ในช่องระหว่างเม็ดกรวดและ

                  เม็ดทรายที่สะสมตัวอยู่ในที่ราบลุ่มน้้าหลากหรือร่องน้้าเก่า ให้น้้าประมาณ 2–10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง ที่

                  ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร คุณภาพน้้าดี
                                      (2) ดินเหนียวชายทะเล Qfd (m) ประกอบด้วยกรวดทรายทรายแป้งและดิน

                  เหนียวโดยชั้นน้้าบาดาลจะเก็บอยู่ในช่องระหว่างเม็ดกรวดและเม็ดทรายที่สะสมตัวอยู่ใน ที่ราบลุ่ม

                  น้้าหลากหรือร่องน้้าเก่า ให้น้้าประมาณ 2–10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง ที่ระดับความลึกประมาณ
                  10-40 เมตร คุณภาพน้้าดี

                                     (3) ชั้นน้ าทรายชายหาด (Beach Sand Aquifer : Qbs) ประกอบด้วย ตะกอน

                  ทรายชายหาดและสันทรายชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย ซึ่งเกิดจากการสะสมตัวของตะกอนทรายที่ถูก

                  พัดพามาสะสมโดยคลื่นลมจากทะเล น้้าบาดาลจะถูกกักเก็บอยู่ในช่องว่างระหว่างตะกอนทรายที่ตก
                  ทับถมในบริเวณสันทรายเก่า และชายหาดปัจจุบัน หินให้น้้าหน่วยนี้ส่วนใหญ่พบแผ่กระจายตัวเป็น

                  บริเวณแคบยาวตามชายฝั่งทะเลทางทิศตะวันออกของพื้นที่ ความลึกของชั้นน้้าบาดาล โดยเฉลี่ยอยู่

                  ในช่วง 5-8 เมตร โดยทั่วไปให้น้้าได้ในเกณฑ์ 2-10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง

                                    (4) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนเศษหินเชิงเขา (Colluvium  Aquifers  :  Qcl)
                  ประกอบด้วย ดินเหนียวปนทรายคลุกเคล้าปะปนด้วยเศษหินแตก (rock  fragments)  ที่มีลักษณะเป็น

                  เหลี่ยมขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงเล็กไม่มีการจัดคัดขนาดของเม็ดตะกอน ปริมาณน้้า

                  อยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 2-5 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                    (5) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ ายุคเก่า  (Older  terrace  deposits  :  Qot)

                  ประกอบด้วยชั้นกรวดปนดินเหนียวหลายชั้น  สลับชั้นกลางด้วยดินเหนียว  หรือดินเหนียวปนทราย

                  โดยน้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ในชั้นกรวดทราย  (gravel  beds)  และก่อตัวเป็นกลุ่มของชั้นน้้าบาดาล
                  (multi-aquifers) โดยมีการให้ปริมาณน้้ามากกว่า 40 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง

                                    (6) ชั้นหินอุ้มน้ าชุดดินโคราชตอนบน (Upper  Khorat  Aquifers  :  Kuk)

                  ประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ง และหินดินดาน ซึ่งน้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายในรอยแตก  รอยแยก

                  รอยเลื่อน รอยต่อระหว่างชั้น และบริเวณที่หินผุ ความลึกของชั้นน้้าบาดาลโดยเฉลี่ย 20-50 เมตร ปริมาณน้้า








                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127