Page 53 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 53

3-9





                  ใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ ไมผลตางๆ เชน มังคุด เงาะ บางพื้นที่มีการปนคันนาเพื่อใชปลูกขาว

                  แตพื้นที่ปลูกมีเพียงเล็กนอย บางแหงยังคงสภาพปาธรรมชาติ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    - หนวยที่ดินที่ 26B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 6,464 ไร หรือ

                  รอยละ 0.62 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่ 26Bb สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีการปนคันนาเพื่อ

                  ปลูกขาว มีเนื้อที่ 96 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  26C  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 11,778 ไร หรือ

                  รอยละ 1.14 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 26D  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 16,280 ไร หรือ
                  รอยละ 1.57 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 26E สภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีเนื้อที่ 5,242 ไร หรือรอยละ 0.51

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (2)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหรือดินทรายแปงละเอียด เกิดจากการทับถมของตะกอน
                  ลําน้ําบริเวณสันดินริมน้ํา บนพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนกลุมดินลึกที่มี

                  การระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินรวน หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง บางแหงอาจมีชั้นดินทราย

                  ละเอียดสลับชั้นอยูและมักมีแรไมกาปะปนในเนื้อดิน  สีดินเปนสีน้ําตาลหรือสีเหลืองปนน้ําตาล

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง
                  มีคาความเปนกรด-ดางดินบนอยูระหวาง 4.5-6.0  คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลาง

                  และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน

                  กาแฟ ไมผลตางๆ เชน มังคุด เงาะ บางพื้นที่คงสภาพเปนทุงหญาตามธรรมชาติ พื้นที่ในหนวยที่ดิน

                  เหลานี้ ไมคอยมีปญหาในเรื่องสมบัติของดิน แตอาจมีปญหาเรื่องน้ําทวม สรางความเสียหายใหแก
                  พืชผลที่ปลูก หากน้ําในลําน้ํามีปริมาณมากจนไหลเออทวมตลิ่ง และแชขังอยูเปนเวลานาน  แบงเปน

                  หนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่  32  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 165 ไร
                  หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 32B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 58,983 ไร

                  หรือรอยละ 5.70 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่ 32Bb สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีการปนคันนาเพื่อ

                  ปลูกขาว มีเนื้อที่ 2,650 ไร หรือรอยละ 0.26 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58