Page 56 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 56

3-12





                  ของพวกอินทรียวัตถุ เหล็กหรือฮิวมัส สีน้ําตาล สีแดง ชั้นเหลานี้มีการอัดตัวแนนเปนชั้นดาน มีความ

                  อุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํามาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด

                  เปนดางประมาณ 5.0-6.0 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทรายจัด และ
                  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํามาก พืชมักแสดงอาการขาดธาตุอาหารใหเห็น ในชวงฤดูแลงชั้นดานจะแหง

                  และแข็งมาก รากพืชไมสามารถไชชอนผานไปได สวนในชวงฤดูฝนจะเปยกแฉะและมีน้ําแชขัง

                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปาเสม็ด ปาชายหาดปาละเมาะ บางแหงใชปลูกไมผลและไมยืนตน

                  แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                     -  หนวยที่ดินที่ 42 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 12,346 ไร

                  หรือรอยละ 1.19 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่ 42b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 301 ไร
                  หรือรอยละ 0.03 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -  หนวยที่ดินที่  42B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 925 ไร

                  หรือรอยละ 0.09 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่ 42Bb สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีการปนคันนา
                  เพื่อปลูกขาว มีเนื้อที่ 221 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (6)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายลึกมาก เปนกลุมดินที่พบในเขตฝนตกชุก หรือ

                  บริเวณชายฝงทะเล เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของ
                  หินเนื้อหยาบ หรือจากตะกอนทรายชายทะเล บนพื้นที่ดอน บริเวณหาดทราย สันทรายชายทะเลหรือ

                  บริเวณที่ลาดเชิงเขา เปนกลุมดินลึก มีการระบายน้ําคอนขางมากเกินไป เนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวน

                  หรือดินทราย ดินมีสีเทา สีน้ําตาลออน  หรือเหลือง ถาพบบริเวณสันทรายชายทะเลจะมีเปลือกหอย
                  ปะปนอยูในเนื้อดิน ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํามาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง

                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 แตถามีเปลือกหอยปะปนจะมีปฏิกิริยาเปนดางปานกลาง

                  ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินเปนทรายจัด ทําใหมีความสามารถในการอุมน้ําไดนอย
                  พืชจะแสดงอาการขาดน้ําเมื่อฝนทิ้งชวง นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณต่ํามาก ปจจุบันบริเวณ

                  ดังกลาว ใชปลูกไมยืนตน และไมผล บางแหงเปนปาละเมาะหรือทุงหญาธรรมชาติแบงเปน

                  หนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    - หนวยที่ดินที่ 43 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 16,255 ไร
                  หรือรอยละ 1.57 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่ 43b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 373 ไร

                  หรือรอยละ 0.04 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61