Page 52 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 52

3-8





                  มีการดัดแปลงพื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 6,629 ไร หรือรอยละ

                  0.64 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (10) กลุมชุดดินที่เปนดินที่มีอินทรียวัตถุหนามากกวา 100 เซนติเมตร เปนกลุมดินที่
                  มีลักษณะคลายคลึงกับกลุมดินที่ 57 คือ เปนกลุมดินที่พบบริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุ ที่อยูไมไกล

                  จากทะเลมากนัก มีน้ําแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป เปนดินลึก การระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดิน

                  เปนพวกดินอินทรีย แตชั้นดินอินทรียที่พบหนากวา 100 เซนติเมตร และมีเนื้อหยาบกวา  อีกทั้งมีเศษ

                  พืชขนาดเล็กและขนาดใหญปะปนอยูทั่วไป สีดินเปนสีดินหรือสีน้ําตาล ที่ความลึกมากกกวา
                  200  เซนติเมตร อาจพบดินเลนตะกอนน้ําทะเลสีเทาหรือสีเทาปนเขียว และมีสารประกอบกํามะถัน

                  (ไพไรต) อยูมาก มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก มีคาความเปนกรด

                  เปนดางนอยกวา 4.5 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดินของหนวยแผนที่นี้ไดแก เปนดินอินทรียที่
                  มีคุณภาพต่ํา เปนกรดจัดมาก ขาดธาตุอาหารพืชตางๆ อยางรุนแรง และยากตอการใชเครื่องมือทาง

                  การเกษตรเนื่องจากเปนที่ลุมต่ําและดินยุบตัว หากมีการระบายน้ําออกเมื่อดินแหงจะติดไฟไดงาย

                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญยังคงสภาพปาพรุ บริเวณขอบๆ พรุบางแหง ใชปลูกพืชลมลุกและ

                  พืชผักสวนครัว แตไมคอยไดผล เมื่อปาพรุถูกทําลายไปจะมีพืชตางๆ เชน กระจูด เฟรน และเสม็ดขึ้น
                  แทนที่ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่ 58I  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน

                  มีเนื้อที่ 55,624 ไร หรือรอยละ 5.38 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่ 58MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลงพื้นที่

                  โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 924 ไร หรือรอยละ 0.09 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             2)  ดินในพื้นที่ดอน ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                                 (1) กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ําหรือวัตถุตนกําเนิดดิน

                  เนื้อละเอียด เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินตนกําเนิดชนิดตางๆ แลวถูกเคลื่อนยายมาใน

                  ระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อละเอียดซึ่งมีทั้งหินอัคนี หินตะกอน หรือหินแปร หรือเกิดจากวัตถุ
                  ตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา ในบริเวณพื้นที่ดอน มีลักษณะพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                  จนถึงลูกคลื่นลอนชัน เปนกลุมดินลึกมากที่มีการระบายน้ําดี เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนดินเหนียว

                  หรือ ดินเหนียว สวนดินลางเปนพวกดินเหนียว สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ

                  ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดางดินบนอยูระหวาง
                  5.0-6.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา คาการนําไฟฟา

                  ของดินต่ํา ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก สวนบริเวณที่หนาดินมีทรายปน และมีความลาดชัน

                  สูงมีอัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินมากหากมีการจัดการดินไมเหมาะสม ปจจุบันบริเวณดังกลาว




                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57