Page 58 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 58

3-14





                                (8)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนลึกปานกลางถึงเศษหิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู

                  กับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนลําน้ํา บนพื้นที่ดอน มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เปนกลุมดินลึกปานกลาง
                  มีการระบายน้ําดี เนื้อดินชวง 50 เซนติเมตร ตอนบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย

                  ในระดับความลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรัง สีดินเปนสีน้ําตาล

                  สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด

                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความ
                  อุดมสมบูรณต่ํา ปฏิกิริยาดินคอนขางเปนทราย ถาพบบริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลาง

                  พังทลายของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชปลูกไมยืนตน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    -  หนวยที่ดินที่ 50B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 1,608 ไร
                  หรือรอยละ 0.16 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่  50E สภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีเนื้อที่ 496 ไร หรือรอยละ 0.05

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (9)  กลุมชุดดินที่เปนดินตื้นถึงชั้นหินพื้น เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูก
                  เคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของวัตถุตนกําเนิดดินที่มาจากหินเนื้อหยาบ บนบริเวณพื้นที่ดอน

                  บริเวณที่ลาดเชิงเขาตางๆ เปนกลุมดินตื้นหรือตื้นมาก มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินรวนปนเศษหิน

                  เศษหินสวนใหญเปนพวกเศษหินทรายและควอตซ หรือหินดินดาน สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสี
                  แดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรด

                  เปนดางประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยู

                  ในเนื้อดินเปนปริมาณมาก และดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา บริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลาง
                  พังทลายของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปาดิบชื้น บางแหงใชปลูกยางพารา หรือปลอยทิ้ง

                  เปนปาละเมาะ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    -  หนวยที่ดินที่ 51B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 2,486 ไร
                  หรือรอยละ 0.23 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 51C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 7,371 ไร หรือรอยละ

                  0.71 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 51D สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 655 ไร หรือรอยละ 0.06
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่  51E  สภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีเนื้อที่ 350 ไร หรือรอยละ 0.03

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63