Page 48 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 48

3-4





                  ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดินของหนวยแผนที่นี้ไดแก ดินเปนกรดจัดมาก อาจขาดธาตุอาหารพืช

                  พวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส หรือมีสารละลายพวกอะลูมินั่มและเหล็กเปนปริมาณมากเกินไปจนเปน

                  พิษตอพืชที่ปลูก จัดไดวาเปนดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถัน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                    - หนวยที่ดินที่  11I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบ

                  ชลประทาน มีเนื้อที่ 146 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 11MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 952 ไร หรือรอยละ 0.09 ของพื้นที่
                  ลุมน้ําสาขา

                                (5)  กลุมชุดดินที่เปนดินเลนชายทะเล เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนน้ําทะเล ในบริเวณที่ราบน้ําทะเลทวมถึงและบริเวณชะวากทะเล มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ
                  หรือคอนขางราบเรียบ เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวมาก เมื่อมีการดัดแปลงพื้นที่โดยการยกรอง

                  ปลูกพืช จะมีการระบายน้ําดีปานกลาง เปนดินเลนเละ ที่มีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือหรือดินรวนเหนียว

                  ปนทรายแปง  ดินบนมีสีดําปนเทา  มีจุดประสีน้ําตาลเล็กนอย สวนดินลางเปนดินเลนสีเทาแกหรือสีเทา

                  ปนเขียว และพบเศษรากพืชปะปนในดินเปนจํานวนมาก เปนดินที่มีสารประกอบกํามะถันปะปนอยูมาก
                  ตามปกติเมื่อดินจะเปนกลางหรือเปนดางแตเมื่อมีการระบายน้ําออกไปหรือทําใหดินแหง สารประกอบ

                  กํามะถันจะแปรสภาพปลดปลอยกรดกํามะถันออกมา  ทําใหดินเปนกรดจัดมาก ดินกลุมนี้จัดเปนดินเค็ม

                  ที่มีกรดแฝงอยู มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง
                  มีคาความเปนกรด-ดางดินบนอยูระหวาง 6.0-8.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง และ

                  ความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางสูง คาการนําไฟฟาของดินสูง ตามปกติบริเวณที่พบดินเหลานี้

                  มักมีปาชายเลนขึ้นปกคลุม แตในปจจุบันปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทํานา บางแหงมีการยกรอง
                  ปลูกปาลมน้ํามัน และยางพารา หากไมมีการจัดการที่เหมาะสม ผลผลิตมักลดลงอยางรวดเร็ว

                  เนื่องจากการเกิดกรดและการเกิดสารพิษบางอยาง เชน กาซไขเนา เปนตน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                         -             หนวยที่ดินที่  13/14 เปนหนวยที่ดินรวม หรือ หนวยที่ดินเชิงซอน ประกอบดวย
                  หนวยที่ดินที่ 13 และ หนวยที่ดิน 14 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 591 ไร หรือรอยละ

                  0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 13/14M เปนหนวยที่ดินรวม หรือหนวยที่ดินเชิงซอน ประกอบดวย

                  หนวยที่ดินที่  13 และหนวยที่ดิน 14M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลงพื้นที่
                  โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 161 ไร หรือรอยละ 0. 02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา











                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53