Page 47 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 47

3-3





                                    - หนวยที่ดินที่ 6 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 14,562 ไร

                  หรือรอยละ 1.41 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 6I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน
                  มีเนื้อที่ 14,003 ไร หรือรอยละ 1.35 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -  หนวยที่ดินที่ 6M  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 7,663 ไร หรือรอยละ 0.74 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 6MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 5,734 ไร หรือรอยละ 0.55

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                               (3)   กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัดตื้น เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก
                  ตะกอนผสมของตะกอนลําน้ําและตะกอนน้ําทะเลแลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย ในบริเวณที่ราบลุมที่

                  หางจากทะเลไมมากนัก มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวหรือคอนขางเลว

                  เนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนมีสีดําหรือสีเทาแก ดินลางมีสีเทา มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง สีแดง ปะปน

                  ตลอดชั้นดิน และพบจุดปะสีเหลืองฟางขาวของสารจาโรไซตภายในระดับความลึก 50  เซนติเมตร
                  จากผิวดิน ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา และเปนกรดรุนแรงมากถึงกรดจัดมาก มีคาความเปนกรดเปนดาง

                  นอยกวา 4.5 ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทํานา บางแหงมีการยกรองปลูกปาลมน้ํามัน และยางพารา

                  หากไมมีการใชปูนเพื่อแกไขความเปนกรดของดิน พืชที่ปลูกมักไมคอยไดผล แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                - หนวยที่ดินที่ 10I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน

                  มีเนื้อที่ 3,704 ไร หรือรอยละ 0.36 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  10MI  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช  และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 991 ไร หรือรอยละ 0.10 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา

                                (4)   กลุมชุดดินที่เปนที่เปนดินเปรี้ยวจัดลึกปานกลาง เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตน
                  กําเนิดดินพวกตะกอนผสมระหวางตะกอนลําน้ําและตะกอนน้ําทะเลแลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย ใน

                  บริเวณที่ราบลุมที่หางจากทะเลไมมากนัก  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ํา

                  เลวหรือคอนขางเลว เนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองในฤดู

                  แลง และมีรอยถูไถลในดิน ดินบนมีสีดําหรือสีเทาแก ดินลางมีสีเทา  และมีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง
                  หรือ สีแดง ปะปนอยูเปนจํานวนมากในชวงดินลางตอนบน และพบจุดปะสีเหลืองฟางขาวของสาร

                  จาโรไซตภายในระดับความลึก 50-100  เซนติเมตร  จากผิวดิน ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                  คอนขางต่ํา ดินมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด คาการเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.0





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52