Page 46 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 46

3-2





                             1)  ดินในพื้นที่ลุม ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                            (1)   กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัดลึก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนผสมระหวางตะกอนลําน้ําและตะกอนน้ําทะเล แลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย ในบริเวณที่ราบลุมที่

                  หางจากทะเลไมมากนัก มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําเลว มีเนื้อดินเปน
                  ดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองในฤดูแลง และมีรอยถูไถลในดิน สีดิน

                  สวนมากจะเปนสีเทาหรือสีเทาแกตลอด และมีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีแดงปะปนตลอดชั้นดิน

                  อาจพบผลึกยิปซั่มบางเล็กนอย จะพบชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสีเหลืองของสารจาโรไซตหรือชั้นที่
                  แสดงถึงอิทธิพลของการเปนดินกรดจัด ในระดับความลึกประมาณ 100 ถึง 150 เซนติเมตร ทับอยูบนชั้น

                  ดินเลนตะกอนน้ําทะเลที่มีสีเทาปนเขียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรด

                  เปนดางประมาณ 4.0-5.5 ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทํานา

                  บางแหงมีการยกรองปลูกปาลมน้ํามัน และยางพารา หากไมมีการใชปูนเพื่อแกไขความเปนกรดของดิน
                  พืชที่ปลูกมักไมคอยไดผล แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่ 2 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 2,676 ไร

                  หรือรอยละ 0.26 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                -  หนวยที่ดินที่ 2I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน

                  มีเนื้อที่ 35,044 ไร หรือรอยละ 3.39 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่  2M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 1,076  ไร หรือรอยละ 0.10

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 2MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 17,542  ไร หรือรอยละ 1.70

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (2)   กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกมากสีเทา ที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนลําน้ํา พบในบริเวณพื้นที่ราบตะกอนน้ําพา ที่ลุมมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน การระบายน้ําเลว ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา คาความเปนกรด-ดาง

                  ดินบนอยูระหวาง 5.0-6.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ําถึงต่ําปานกลาง และความอิ่มตัว

                  ดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา พบในพื้นที่ลุมต่ํา มีน้ําไหลบาทวมขังสูงในฤดูฝน ปจจุบันบริเวณ
                  ดังกลาว สวนใหญใชทํานา บางพื้นที่มีการยกรองเพื่อปลูกไมยืนตน เชน ปาลมน้ํามัน แบงเปน

                  หนวยที่ดินตางๆ คือ








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51