Page 153 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 153

4-14





                            2.3.4  เขตทุงหญา (หนวยแผนที่ 235)

                                มีพื้นที่ 7,438 ไร หรือรอยละ 1.72 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สภาพพื้นที่มีลักษณะ

                  คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก การระบายน้ําดี มีความเหมาะสม
                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีขอจํากัดเรื่อง ปริมาณน้ําฝน ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา เนื่องจาก
                  เกษตรกรทําการปลูกพืชไรตอเนื่องมาเปนเวลานาน

                          2.4   เขตพื้นที่คงสภาพปาไมนอกเขตปาตามกฎหมาย (หนวยแผนที่ 26)

                                  มีพื้นที่รวม 29,657 ไร หรือรอยละ 6.85  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา  เปนพื้นที่ที่มีสภาพปา

                  แตอยูนอกเขตที่มีการประกาศเปนเขตปาตามกฎหมายบริเวณปาที่มีมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการกําหนด

                  ชั้นคุณภาพลุมน้ํา ครอบคลุมเขตชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 1 ชั้นที่ 2 และบริเวณปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี
                  ประกอบดวย เขตปาสมบูรณ (หนวยแผนที่ 261) ซึ่งมีพื้นที่ 10,678 ไร หรือรอยละ 2.46  ของพื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา และเขตฟนฟูปาไม (หนวยแผนที่ 262) ซึ่งมีพื้นที่ 18,979 ไร หรือรอยละ 4.39 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                   แนวทางการพัฒนา
                                  1.  เสนอใหชุมชนจัดตั้งเปน “ปาชุมชน” ตามแนวทางของกรมปาไมเพื่อสราง

                  ความเขาใจในการจัดตั้งปาชุมชน

                                  2.  สงเสริมใหชุมชนเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษพื้นที่และ
                  มีการกําหนดแนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อการอนุรักษพื้นที่

                              3.  สงเสริมใหชุมชนเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของปาชุมชน

                              4.  สงเสริมกิจกรรมเพื่อการอนุรักษพื้นที่โดยไมเขาไปบุกรุกปาเพิ่มเติม เชน
                  การปองกันไฟปา การปลูกปา หรือ ปลูกฝงประเพณีบวชปาโดยมีภาคเหนือเปนตนแบบ

                        3.  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสราง (หนวยแผนที่ 3)

                           มีพื้นที่ 20,202  ไร หรือรอยละ 4.66 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนที่ตั้งของชุมชนซึ่งมีทิศทาง
                  ในการพัฒนาและขยายตัวไมมีกรอบที่เดนชัด เปนผลใหเกิดการขยายความเจริญของชุมชนเมืองในพื้นที่

                  ที่เหมาะสมตอการทําการเกษตรที่ประกอบดวย ที่อยูอาศัย/ยานการคา สถานที่ราชการและสถาบันตางๆ

                  โรงงานอุตสาหกรรม สถานที่พักผอนหยอนใจ และถนน

                        แนวทางการพัฒนา

                           1. องคการบริหารสวนตําบลในแตละพื้นที่บริเวณลุมน้ําสาขานี้ควรเรงศึกษาปญหาความตองการ

                  ของทองถิ่นและจัดลําดับความสําคัญของปญหาเพื่อกําหนดแนวทางในการพัฒนาไดอยางถูกตอง

                  ตามความตองการของชุมชนในแตละทองถิ่นนั้นๆ ในประเด็นปญหาบางเรื่องที่เกินขีดความสามารถของทองถิ่น
                  ทางองคการบริหารสวนตําบลควรทําเรื่องถึงสวนราชการที่เกี่ยวของโดยตรง เพื่อรองรับการสนับสนุน

                  ในการศึกษาปญหา แนวทางการแกไข จัดทําโครงการและงบประมาณเพื่อการดําเนินการตอไป





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158