Page 149 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 149

4-10





                          2.2   เขตเกษตรกาวหนา (หนวยแผนที่ 22)

                                  มีพื้นที่ 192,949 ไร หรือรอยละ 44.54 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตนี้เกษตรกรทําการเกษตร

                  โดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ดินมีศักยภาพในการผลิตปานกลางถึงสูง พื้นที่สวนใหญทํานาครั้งเดียว

                  หรือหากปลูกไมยืนตนก็ควรปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน เปนหลัก ปญหาหลักที่พบในเขตนี้ไดแก
                  ปญหาเรื่องปริมาณน้ําที่มากเกินไปในชวงฤดูฝนและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลาง สามารถแบงเขต

                  การใชที่ดินเพื่อการผลิตได 3 เขต ดังนี้

                                   2.2.1  เขตทํานา (หนวยแผนที่ 221)

                                         มีพื้นที่ 7,053 ไร หรือรอยละ 1.63 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ดินมีความเหมาะสม
                  ทางกายภาพปานกลาง

                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็กใน
                  พื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุย

                  วิทยาศาสตรรวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน
                                  3.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตร

                  ผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลยืนตน

                  รวมกัน
                                  4.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อผลักดันใหชุมชนมีโรงสีขาวเปน

                  ของกลุมและสรางอํานาจตอรองทางการตลาด

                                   2.2.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 223)

                                  มีพื้นที่ 39,938 ไร หรือรอยละ 9.22 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา พืชที่ปลูก ไดแก
                  ทุเรียน เงาะ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก มีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง โดยมีขอจํากัดเรื่องความอุดมสมบูรณในดินมักพบอยูบริเวณริมน้ํา สามารถ

                  สูบน้ําขึ้นมาใชในชวงฤดูแลงได

                                  แนวทางการพัฒนา
                                  1.   สงเสริมใหมีการขยายเขตโครงการชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม

                                  2.   หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็ก

                  ในพื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ํา
                  ไดดีขึ้น








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154