Page 148 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 148

4-9





                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรปรับปรุงระบบการสงน้ําจากโครงการชลประทานที่มีอยูใหมี

                  ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสามารถกระจายการสงน้ําใหครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม

                                  2.  หนวยงานที่เกี่ยวของควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึง
                  ปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําสํารองไวใช

                  ในชวงที่น้ําชลประทานไมเพียงพอ

                                  3.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุย
                  วิทยาศาสตรรวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน

                                  4.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน

                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผล และไมยืนตนรวมกัน

                                         5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกันปลูกพืชผักอินทรียเพื่อเพิ่มมูลคาการผลิต
                                  6.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจ

                  ตอรองทางการเกษตร

                                   2.1.3  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 214)
                                         มีพื้นที่ 9,925 ไร หรือรอยละ 2.29 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา อยูในเขตชลประทาน

                  ดินมีการระบายน้ําดี มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติคอนขางต่ําถึงต่ํา ปจจุบันนิยมปลูกยางพาราและ

                  ปาลมน้ํามันกันเปนจํานวนมาก
                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรปรับปรุงระบบการสงน้ําจากโครงการชลประทานที่มีอยูใหมี

                  ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสามารถกระจายการสงน้ําใหครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม

                                  2.  หนวยงานที่เกี่ยวของควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึง
                  ปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําสํารองไวใช

                  ในชวงที่น้ําชลประทานไมเพียงพอ

                                         3.  หนวยงานของรัฐตองเรงใหการสนับสนุนทั้งเงินลงทุน และทางวิชาการ
                  แกเกษตรกรในพื้นที่เขตนี้อยางจริงจังเพราะเปนพื้นที่ที่ทรัพยากรที่ดินมีขอจํากัดตอการเกษตรกรรม

                  คอนขางสูง แตเกษตรกรในพื้นที่มีความยากจน และไมสามารถเปลี่ยนการประกอบอาชีพเปนอยางอื่นได

                                  4.  ปรับปรุงโครงสรางของดิน โดยการใชปุยพืชสด ปุยคอก หรือปุยหมัก

                  ซึ่งจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการอุมน้ําของดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืช โดยมีการใชปุย
                  วิทยาศาสตรที่เหมาะสมกับชนิดพืช ทั้งเรื่องสูตรปุย จํานวนและชวงระยะที่ใสปุยที่เหมาะสม

                                  5.  พื้นที่ลาดชันควรสงเสริมใหมีการจัดอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153