Page 150 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 150

4-11





                                  3.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุยวิทยาศาสตร

                  รวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน

                                  4.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน
                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผล และไมยืนตนรวมกัน

                                         5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกันปลูกพืชผักอินทรียเพื่อเพิ่มมูลคาการผลิต

                                  6.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจ
                  ตอรองทางการเกษตร

                                   2.2.3  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 224)

                                         มีพื้นที่ 145,958 ไร หรือรอยละ 33.69 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ดินมีการระบายน้ําดี

                  มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติคอนขางต่ํา ปจจุบันนิยมปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน กันเปนจํานวนมาก

                  จากผลการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพ พบดินมีความเหมาะสมเล็กนอย โดยมีขอจํากัดเรื่อง
                  การหยั่งลึกของรากพืช และมีแนวโนมของการเกิดการชะลางพังทลายของดิน

                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของ
                  แหลงน้ําตามธรรมชาติ เชนเหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําได  รวมถึงการสงเสริมใหมีการขยายเขต

                  โครงการชลประทานในพื้นที่เกษตรกรรม

                                         2.  หนวยงานของรัฐตองเรงใหการสนับสนุนทั้งเงินลงทุน และทางวิชาการ
                  แกเกษตรกรในพื้นที่เขตนี้อยางจริงจังเพราะเปนพื้นที่ที่ทรัพยากรที่ดินมีขอจํากัดตอการเกษตรกรรม

                  คอนขางสูง แตเกษตรกรในพื้นที่มีความยากจน และไมสามารถเปลี่ยนการประกอบอาชีพเปนอยางอื่นได

                                  3.  ปรับปรุงโครงสรางของดิน โดยการใชปุยพืชสด ปุยคอก หรือปุยหมัก ซึ่งจะ
                  ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการอุมน้ําของดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืช โดยมีการใชปุยวิทยาศาสตร

                  ที่เหมาะสมกับชนิดพืช ทั้งเรื่องสูตรปุย จํานวนและชวงระยะที่ใสปุยที่เหมาะสม

                                  4.  พื้นที่ลาดชันควรสงเสริมใหมีการจัดอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่


                          2.3   เขตเรงรัดพัฒนาการเกษตร (หนวยแผนที่ 23)
                                  มีพื้นที่ 18,738 ไร หรือรอยละ 4.32 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ที่ใชน้ําฝนเปนหลัก

                  ในการเกษตรและพบปญหาการใชที่ดิน พื้นที่สวนใหญเปนดินตื้น รวมถึงเปนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง
                  จึงกอใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน แตเนื่องจากเกษตรกรมีความจําเปนตองใชพื้นที่ดังกลาว

                  เพื่อทําการเกษตร ทั้งที่ผลการประเมินความเหมาะสมของที่ดินในเขตนี้อยูระดับเหมาะสมเล็กนอย
                  จําเปนตองปรับปรุงพื้นที่ดังกลาว ซึ่งวิธีการอาจยุงยากและมีคาใชจายสูง พื้นที่นี้สามารถแบงเขตการใชที่ดิน

                  เพื่อการผลิตได 4 เขต ดังนี้





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155