Page 137 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 137

3-76





                                (2.2)  นโยบายการจัดการเรื่องพืชอาหารพลังงาน (ขาว ออย มันสําปะหลัง ปาลมน้ํามัน)

                  กระทรวงเกษตรและสหกรณมีนโยบายในการแบงเขตการเพาะปลูกระหวางพืชอาหารและพืชพลังงาน

                  อยางชัดเจนดังนี้

                           -            พืชอาหารที่สําคัญ เชน ขาวมีการปลูกในพื้นที่ลุมและพื้นที่ที่มีระบบชลประทาน
                           -           พืชพลังงานมีนโยบายเนนการรักษาระดับพื้นที่ปลูกสําหรับออยและมันสําปะหลัง

                  และใหขยายพื้นที่ปลูกสําหรับปาลมน้ํามันซึ่งพืชทั้ง 3 ชนิด ตองปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

                  โดยเพิ่มผลผลิตตอไรดวยการใชพันธุดีและการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี
                                (2.3)  นโยบายวิกฤตอาหารและพลังงานของโลก

                                      จากสถานการณวิกฤตอาหารและพลังงานของโลกในชวงกลางป 2551 สงผลกระทบ

                  ใหเกิดการขาดแคลนอาหารเกือบทั่วโลก จึงทําใหราคาสินคาเกษตรดานอาหารมีราคาสูงขึ้นตามไปดวย

                  แตสําหรับประเทศไทยมีศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรที่เปนอาหารพอเพียงและมีเหลือสงออก
                  เลี้ยงประชากรโลกมาโดยตลอด แตปจจัยการผลิตโดยเฉพาะน้ํามันและปุยเคมีมีราคาสูงขึ้นในขณะที่

                  ราคาสินคาเกษตรขยับสูงขึ้นไมสมดุลกับตนทุนการผลิต รวมทั้งคาครองชีพที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลาสงผล

                  ตอความเปนอยูของเกษตรกร ดังนั้นจึงจําเปนตองรักษาเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรที่เปนอาหาร
                  เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณไดเตรียมมาตรการดําเนินการตางๆ

                  ตั้งแตการทําแผนการผลิตจนถึงการบริหารจัดการตนทุนโลจิสติกส (logistics) เพื่อรองรับกับวิกฤตการดังกลาว

                             3)  นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามเอกสารประกอบแผนการบริหาร

                  ราชการแผนดิน พ.ศ. 2555-2558 (กันยายน 2554)


                                (1) นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                   อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา โดยเรงใหมีการปลูกปาเพิ่มขึ้นควบคู

                  ไปกับการปองกันการลักลอบบุกรุกทําลายปาไมและสัตวปา  เรงสํารวจและจัดทําแนวเขตการใชประโยชนที่ดิน

                  สงเสริมการบริหารจัดการปาแบบกลุมปา ปาชุมชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา สนับสนุน

                  การจัดการอยางมีสวนรวมและใหคนกับปาอยูรวมกันในลักษณะที่ทําใหคนมีภารกิจดูแลปาใหมีความยั่งยืน
                  โดยการปรับปรุงกฎหมายปาไมทั้ง  5  ฉบับใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ  สรางแรงจูงใจและ

                  สงเสริมรายไดจากการอนุรักษปาไม  ฟนฟูปาไมตามแนวทางพระราชดําริ  เพิ่มความชุมชื้นของปา

                  โดยฝายตนน้ําลําธาร ปองกันไฟปา สงเสริมการอนุรักษใชประโยชนจากทรัพยากรชีวภาพจากปาและ
                  แบงปนผลประโยชนอยางเปนธรรม รวมทั้งนําระบบสารสนเทศมาใชในการจัดการทรัพยากรปาไม

                            (2) อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยการฟนฟูทะเลไทย จัดสราง

                  และขยายปะการังเทียมและหญาทะเลโดยการมีสวนรวมของชุมชนเพิ่มพื้นที่ปาชายเลนและแกไข







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142